ของเสียอันตราย

9749070720-93114-BMรหัสหนังสือ: 93114  ชื่อหนังสือ: ของเสียอันตราย
ISBN: 9749070720
ผู้แต่ง: ดร. เกียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์
จำนวนหน้า: 650 หน้า
ครั้งที่พิมพ์ : 2/ 2553
ราคา 400 บาท

หนังสือ ของเสียอันตราย เป็นหนังสือที่ผู้เขียนได้พยายามอย่างมากในการเขียนเล่มนี้จนสำเร็จ ผู้เขียนได้ใช้เวลาอย่างมากในการเขียนเล่มนี้ วิชาของเสียอันตรายเป็นวิชาที่มีความสำคัญอย่างมาก นับวันการใช้สารอันตรายในงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้จะต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมและการกำจัดสารอันตราย เพื่อไม่ให้ไปกระทบสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ

สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 คำจำกัดความ
1.2 กฎหมายและข้อบังคับ
1.3 ปริมาณของเสียอันตราย
1.4 การแยกประเภท
1.5 สารมลพิษอันดับต้น
1.6 ฉลากและป้ายประกาศ
1.7 เลขทะเบียนของสารเสี่ยงอันตราย

บทที่ 2 แหล่งที่มาและคุณสมบัติ (source and properties)
2.1 ความรู้พื้นฐานทางเคมีอินทรีย์
2.2 ปิโตรเลียม (Petroleum)
2.3 สารทำละลายชนิดไม่ใช่ฮาโลจีเนเต็ด
2.4 สารทำละลายชนิดฮาโลจีเนเต็ด
2.5 สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์
2.6 สารระเบิด
2.7 Polychlorinated Biphenyls (PCBs)
2.8 Polychlorinated dibenzodioxins (PCDDs)
2.9 Polychlorinated Dibenzofurans (PCDFs)
2.10 โลหะและอโลหะอนินทรีย์
2.11 ของเสียนิวเคลียร์
2.12 หน่วยความเข้มข้น
2.13 ความสามารถละลายน้ำ
2.14 ความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะ
2.15 ความดันไอ
2.16 ค่าคงที่ของเฮนรี่
2.17 ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่
2.18 ค่าสัมประสิทธิ์การแบ่งแยก
2.19 ค่าปัจจัยความเข้มข้นชีวภาพ
2.20 การซับ
2.21 สมการก๊าซอุดมคติ
2.22 เอนทัลปี
2.23 Gibbs Free Energy
2.24 ของเสียไม่ละลายน้ำ
2.25 ความสามารถติดไฟได้
2.26 จุดวาบไฟและอุณหภูมิจุดไฟติด
2.27 ของเสียปนกันไม่ได้

บทที่ 3 พิษวิทยา
3.1 กลไกทางพิษวิทยา
3.2 เส้นทางของของเสียอันตรายเข้าสู่ร่างกายมนุษย์
3.3 ผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์
3.4 สารก่อมะเร็ง
3.5 ผลกระทบต่อธรรมชาติ

บทที่ 4 การวิเคราะห์แหล่งกำเนิด
4.1 การตรวจสอบ
4.2 การประมาณปริมาณของเสียอันตราย
4.3 การเก็บตัวอย่างบริเวณแหล่งกำเนิดและข้างเคียง

บทที่ 5 การเคลื่อนย้ายของสารปนเปื้อน
5.1 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของสารปนเปื้อน
5.2 การเคลื่อนย้ายออกสู่บรรยากาศ
5.3 การเคลื่อนย้ายลงใต้ผิวดิน

บทที่ 6 กระบวนการทางกายภาพและเคมี
6.1 การไล่ด้วยอากาศ
6.2 การไล่ด้วยไอน้ำ
6.3 การสกัดสารระเหยง่ายออกจากดิน
6.4 การดูดซับด้วยถ่าน
6.5 การเกิดออกซิเดชันเคมี
6.6 การสกัดของไหลเหนือวิกฤต
6.7 กระบวนการแผ่นเยื่อกรอง

บทที่ 7 กระบวนการทางชีวภาพ
7.1 จุลชีพในระบบของเสียเสี่ยงอันตราย
7.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการบำบัดชีวภาพ
7.3 กระบวนการสร้างและสลายของจุลชีพ
7.4 การสลายทางชีวภาพของของเสียอันตราย
7.5 ระบบบำบัดทางชีวภาพ
7.6 ระบบบำบัดทางชีวภาพในรูปของเหลว
7.7 ระบบบำบัดทางชีวภาพในรูปสลัดจ์
7.8 ระบบบำบัดทางชีวภาพในรูปของแข็ง
7.9 ระบบบำบัดทางชีวภาพสำหรับน้ำใต้ดินและสารปนเปื้อนใต้ดินในพื้นที่

บทที่ 8 การปรับเสถียรและการทำก้อนแข็ง
8.1 หลักการ
8.2 กลไกของระบบ
8.3 วิธีการปรับเสถียรและการทำก้อนแข็ง
8.4 การทดสอบหลังผ่านการปรับเสถียรและการทำก้อนแข็ง

บทที่ 9 การบำบัดด้วยความร้อน
9.1 หลักการ
9.2 การเผาไหม้
9.3 ก๊าซและไอ
9.4 เตาเผา
9.5 การควบคุมมลพิษอากาศจากเตาเผา

บทที่ 10 การกำจัดบนดิน
10.1 หลักการ
10.2 การเลือกพื้นที่ฝังกลบ
10.3 ระบบฝังกลบมั่นคง

บทที่ 11 การป้องกันมลพิษ
11.1 หลักการ
11.2 การจัดการป้องกันมลพิษ

บทที่ 12 การเก็บกักของเสียอันตราย
12.1 หลักการ
12.2 การเลือกสถานที่เก็บกัก
12.3 การกำหนดขนาดของสถานที่เก็บกัก
12.4 การออกแบบสถานที่เก็บกัก
12.5 การจัดการเกี่ยวกับการเก็บกักของเสีนอันตราย

บทที่ 13 การขนส่งของเสียอันตราย
13.1 บทนำ
13.2 การจัดแบ่งประเภทของเสียอันตราย
13.3 การจัดเตรียมขนส่ง
13.4 การจัดการเมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะขนส่ง
13.5 การขนส่งของเสียทั้งก้อน
13.6 การขนส่งของเสียไม่ทั้งก้อน

บทที่ 14 การประเมินความเสี่ยง
14.1 หลักการ
14.2 วิธีการประเมินความเสี่ยงทั่วไป
14.3 การประเมินความเสี่ยงต่อนิเวศวิทยา
14.4 การประชาสัมพันธ์ผลการประเมินความเสี่ยง