ระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส) และเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า

9746860542-12203-BMรหัสหนังสือ: 12203   ชื่อหนังสือ: ระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส) และเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
ISBN: 9746860542
ผู้แต่ง: ผศ.ถาวร อมตกิตติ์
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 322
ราคา 250 บาท

ระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง หรือที่นิยมเรียกว่า UPS เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้ การจ่ายกำลังไฟฟ้ามีความต่อเนื่อง และมีคุณภาพสม่ำเสมอ ซึ่งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน ข้อมูล หรือชีวิตได้

หนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึง ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้า, อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพไฟฟ้า คือ วงจรกรองไฟฟ้า, เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า, หม้อแปลงแยกขดลวด, ชุดมอเตอร์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, ชุดกับดักเสิร์จ, สายป้อนไฟฟ้าทำงานทดแทนกัน, เครื่องยูพีเอส, ประสิทธิภาพในการควบคุมคุณภาพไฟฟ้า, เครื่องควบคุมค่าแรงดันไฟฟ้า

เครื่องยูพีเอส ชนิดโรตารี, ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์, ชนิดอินดักชั่นคัพลิง, ชนิดสแตติก, ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น, ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ, ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น, ข้อกำหนดในการใช้งานของยูพีเอส, เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับยูพีเอส, แบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส, การคำนวณแบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส, ฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้า, การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแพสซีฟ, การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกซีฟ, การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า

สารบัญ
1. ระบบไฟฟ้าและปัญหา
     1.1 ระบบจำหน่ายไฟฟ้า และความมั่นคงในระบบ
1.2 การผิดปกติในระบบไฟฟ้า
1.3 ปัญหาที่เกิดในระบบไฟฟ้า
1.4 โอกาสที่ระบบไฟฟ้าผิดปกติ
2. อุปกรณ์ควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
2.1 วงจรกรองไฟฟ้า
2.2 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า
2.3 หม้อแปลงแยกขดลวด
2.4 ชุดมอเตอร์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
2.5 ชุดกับดักเสิร์จ
2.6 สายป้อนไฟฟ้าทำงานทดแทนกัน
2.7 เครื่องยูพีเอส
2.8 การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟ
2.9 ประสิทธิภาพในการควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
3. เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้า
3.1 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดหม้อแปลงแปรค่าได้ด้วยมอเตอร์
3.2 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมการเหนี่ยวนำ
3.3 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดหม้อแปลงเฟอร์โรเรโซแนนซ์
3.4 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยการเชื่อมต่อแบบแม่เหล็ก
3.5 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยแทปสวิตชิง
3.6 เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าชนิดควบคุมด้วยคาปาซิเตอร์สวิตชิง
4. เครื่องยูพีเอสโรตารี่
4.1 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ที่ใช้พลังงานสำรองจากแบตเตอรี่
4.2 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ที่ใช้พลังงานสำรองจากเครื่องยนต์ดีเซล
4.3 การต่อยูพีเอสโรตารี่แบบขนาน
5. เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.2 การส่งพลังงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.3 การทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.4 เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์แบบต่างๆ
5.5 การใช้งานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
5.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดยูนิบล็อกคอนเวอร์เตอร์
6. เครื่องยูพีเอสโรตารี่ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.2 การทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.3 สภาวะการทำงานของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.4 การควบคุมคุณภาพไฟฟ้าของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.5 เครื่องยูพีเอสชนิดระบบขนานแบบสแตติก
6.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
6.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสโรตารี่ ชนิดอินดักชั่นคัพลิง
7. เครื่องยูพีเอสสแตติก
7.1 ชนิดของคอนเวอร์เตอร์สแตติก
7.2 ชนิดของเรกติไฟเออร์สแตติก
7.3 ชนิดของอินเวอร์เตอร์สแตติก
7.4 การควบคุมแรงดันไฟฟ้าด้านออกของเครื่องยูพีเอสสแตติก
7.5 ประเภทของเครื่องยูพีเอสสแตติก
7.6 การใช้งานของเครื่องยูพีเอสสแตติกแบบต่างๆ
7.7 สวิตช์สแตติก
8. เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.2 การทำงานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.3 ชุดเรกติไฟเออร์ / ชาร์จเจอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.4 ชุดอินเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.5 ชุดบายพาสสวิตช์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.6 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
8.7 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดดับเบิลคอนเวอร์ชั่น
9. เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.1 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.2 การทำงานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.3 ชุดคอนเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.4 ชุดบายพาสสวิตช์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.5 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
9.6 การต่อขนานเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดไลน์อินเตอร์แอกทีฟ
10. เครื่องยูพีเอสสแตติกชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.1 รายละเอียดของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.2 โครงสร้างของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.3 การทำงานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.4 ชุดคอนเวอร์เตอร์ของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.5 ชุดแจ้งผลของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.6 คุณสมบัติทางเทคนิคของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.7 การต่อขนานของเครื่องยูพีเอสสแตติก ชนิดเดลต้าคอนเวอร์ชั่น
10.8 การเปรียบเทียบระบบยูพีเอสสแตติก
11. ข้อกำหนดในการใช้งานของยูพีเอส
11.1 ข้อกำหนดทางเทคนิคของระบบยูพีเอส
11.2 การเปรียบเทียบยูพีเอสชนิดต่าง ๆ
11.3 การพิจารณาระบบยูพีเอสที่ด้านเข้าเป็น 3 เฟส และด้านออกเป็น 1 เฟส
11.4 วิธีการต่อขนานของยูพีเอสเพื่อนำไปใช้งาน
11.5 การเลือกขนาดเครื่องยูพีเอส
11.6 การทดสอบระบบยูพีเอส
11.7 การทดสอบอุปกรณ์ประกอบภายในเครื่องยูพีเอสสแตติก
12. เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำหรับยูพีเอส
12.1 การติดตั้งใช้งานเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.2 การเลือกขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.3 การประกอบติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12.4 ข้อกำหนดทางเทคนิคของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
13. แบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส
13.1 ปฏิกิริยาทางเคมี
13.2 ชนิดของแบตเตอรี่
13.3 การพิจารณาองค์ประกอบในการเลือกแบตเตอรี่
13.4 การประจุและการจ่ายพลังงานของแบตเตอรี่
13.5 การต่อแบตเตอรี่แบบขนาน
13.6 การติดตั้งและบำรุงรักษาแบตเตอรี่
14. การคำนวณแบตเตอรี่สำหรับยูพีเอส
14.1 องค์ประกอบในการคำนวณแบตเตอรี่
14.2 ตัวอย่างการคำนวณเลือกขนาดแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด
14.3 ตัวอย่างการคำนวณเลือกขนาดแบตเตอรี่ชนิดนิกเกิลแคดเมี่ยม
15. ฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้า
15.1 แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ไม่เป็นไซนูซอยด์กับโหลดเชิงเส้น
15.2 แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่เป็นไซนูซอยด์กับโหลดไม่เชิงเส้น
15.3 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากโหลดไม่เชิงเส้น
15.4 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากเฟสไม่สมดุลและกระแสกระตุ้น
15.5 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากภาวะเรโซแนนซ์
15.6 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากชุดเรกติไฟเออร์
15.7 ฮาร์มอนิกที่เกิดจากชุดอินเวอร์เตอร์
15.8 ผลกระทบเนื่องจากฮาร์มอนิก
16. การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแพสซีฟ
16.1 การแก้ปัญหาจากฮาร์มอนิก
16.2 ผลของชุดเรกติไฟเออร์ต่อระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า
16.3 ผลของชุดเรกติไฟเออร์ต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
16.4 การลดฮาร์มอนิกเนื่องจากโหลดเป็นเรกติไฟเออร์
16.5 การลดฮาร์มอนิกเนื่องจากโหลดเป็นอินเวอร์เตอร์
16.6 วิธีแก้ปัญหาฮาร์มอนิกจากการต่อกันในระบบ
17. การควบคุมฮาร์มอนิกแบบแอกซีฟ
17.1 เรกติไฟเออร์ที่ตัวประกอบกำลังเป็นหนึ่ง
17.2 ชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดขนาน
17.3 ชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดไฮบริด
17.4 การติดตั้งชุดปรับปรุงฮาร์มอนิกแบบแอกทีฟชนิดขนาน
17.5 บทสรุป
18. การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
18.1 จุดประสงค์หลักของการต่อลงดิน
18.2 เทคนิคการต่อลงดินโดยทั่วไป
18.3 การต่อลงดินของเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟ้า
18.4 การต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
18.5 การต่อลงดินของระบบคอมพิวเตอร์
บรรณานุกรม
ดัชนี