คู่มือวิศวกรเครื่องกล

9746860003-10113-BMรหัสหนังสือ: 10113   ชื่อหนังสือ: คู่มือวิศวกรเครื่องกล
ISBN: 9746860003
ผู้แต่ง: เทคนิค/เอ็มแอนด์อี บจ.
ขนาด: 13.0 x 19.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 759
ราคาปก 600 บาท
ราคาพิเศษ 510 บาท  *หนังสือมีตำหนิที่ปกและสันปก แต่เนื้อหาครบ
(แถม Engineering Quick 
Reference mini pocket 1 เล่ม)

หนังสือ “คู่มือวิศวกรเครื่องกล” เป็นหนังสือที่รวบรวมตารางข้อมูลเกี่ยวกับ วิศวกรรมเครื่องกล เหมาะอย่างยิ่งสำหรับ วิศวกรเครื่องกล, ช่างเทคนิค และนักศึกษาวิศวกรรม ที่ต้องการเป็นแนวทางไปใช้ในทางปฏิบัติ เกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล ในงานอุตสาหกรรม หรือในด้านการเรียนการสอนทางด้านเครื่องกล

เนื้อหาออกเป็นหมวดต่างๆ เช่น การแปลงหน่วยต่าง, ระบบปรับอากาศ (แอร์บ้าน, หาขนาดแอร์โดยประมาณ, ไซโครแมตริกชาร์ต ..), มิติของเครื่องปรับอากาศ (ชิลเลอร์, คูลิ่งทาวเวอร์, เครื่องส่งลมเย็น ..), พัดลม, ท่อส่งลม-ระบายลม, ห้องสะอาด-การกรองอากาศ, ห้องเย็น, ฉนวน

ท่อ-ปั๊ม, ท่อลมอัด, ท่อแก๊ส, การป้องกันเพลิง, ไอน้ำ, ปั๊ม, ท่อน้ำประปา, ท่อส้วม-ท่อน้ำทิ้ง, pipe hanger, มิติหน้าแปลน

วัสดุกับการกัดกร่อน, ตารางเหล็ก, การเชื่อม, สลักเกลียว-ตะปูควง, หมวดถัง, การเผาไหม้, ก๊าซแอลพีจี, และวิศวกรรมด้าน acoustic ที่เกี่ยวข้องกับห้อง หรือโรงมหรสพ ที่ต้องควบคุมเสียงสะท้อน และเสียงรบกวนต่างๆ

สารบัญ

0-1 หมวดการแปลงหน่วย

– ตารางแปลงหน่วย (แบบที่ 1)

– ตารางแปลงหน่วย (แบบที่ 2)

– ตารางแปลงนิ้วเป็น ม.ม.

– ตารางแปลงอุณหภูมิ

– ตารางแปลงหน่วยของโบลต์

– การแปลงค่าความหนืด

ภาคที่ 1 ระบบปรับอากาศ-การระบายอากาศ

1-1 หมวดระบบปรับอากาศ

– ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับแอร์บ้าน

– ตารางหาขนาดเครื่องแอร์โดยประมาณ

– สูตรทางด้านไซโครเมตริก

– ไซโครเมติกชาร์ต

– ความหมายของตัวย่อ

– สัญลักษณ์

– ตารางน้ำยา

1-2 หมวดมิติของเครื่องปรับอากาศ

– ตารางแสดงขนาด Centrifugal Liquid Chiller ของ York

– ตารางเลือกโมเดลคูลิ่งเทาเวอร์อย่างง่าย

– ตารางแสดงขนาดคูลิ่งเทาเวอร์

– ตารางแสดงขนาดฐานและน้ำหนักของคูลิ่งเทาเวอร์

– ตารางแสดงขนาดคูลิ่งเทาเวอร์

– มิติของเครื่องส่งลมเย็นขนาดเล็กโดยประมาณ (fan coil unit)

– มิติของเครื่องเป่าลมเย็นขนาดเล็กแบบใช้ต่อท่อลมโดยประมาณ

– ตารางแสดงขนาดของเครื่อง packaged water cool A/C unit

– มิติของเครื่องส่งลมเย็นขนาดใหญ่โดยประมาณ

1-3 หมวดพัดลม

– ตารางแสดงคุณสมบัติของพัดลมชนิดต่างๆ

– มิติของพัดลม propeller มิลลิเมตร (นิ้ว)

– ตารางเลือกรุ่นพัดลมหอยโข่งอย่างง่าย

– ลักษณะการติดตั้งพัดลม centrifugal

– ลักษณะการติดตั้งพัดลม axial flow

– พัดลมอุตสาหกรรม

1-4 หมวดท่อส่งลม-ระบายลม

– ข้อมูลสำหรับการออกแบบฝาชีระบายควัน

– ตารางใช้เลือกหัวจ่ายชนิดติดข้างฝา

– กราฟสำหรับใช้หาขนาดท่อลม

– กราฟสำหรับแปลงค่าท่อลมรูปกลมเป็นรูปเหลี่ยม

– ตารางสำหรับเทียบค่าความเร็วลมเป็นความดัน

– แรงเสียดทานของท่อลักษณะต่างๆ

– แรงเสียดทานของท่อเลี้ยว

– ตารางเกจสำหรับแผ่นโลหะตามมาตรฐานต่างๆ

– ตารางความกว้างของท่อลมกับความหนาของแผ่นเหล็ก และการประกอบท่อ

– ขนาดสัดส่วนโดยทั่วไปของไซโคลน

– มาตรฐานคุณภาพอากาศที่ปล่อยออกนอกโรงงาน

– รายละเอียดเกี่ยวกับการอัดลมในบันไดหนีไฟ

– Cyclone Collectors

1-5 หมวดห้องสะอาดและการกรองอากาศ

– ตารางแสดงการกำหนด class ของ clean room

– หลักการ 5 ข้อของห้องสะอาด

– รูปแสดงการกำหนดชื่อภาพโคจรลมภายในห้องสะอาด

– Non-Laminar flow clean rooms basic design & operating consideration

– Laminar downflow clean rooms basic design & operating consideration

– ตารางแสดงประกอบความต้องการของ Bio clean room

– การกำหนดประสิทธิภาพของตัวกรองอากาศ

– ชนิดและคุณสมบัติสำหรับ air filter ของ AAF

– กราฟแสดงการกำหนด class ของห้องสะอาดตามมาตรฐาน

1-6 หมวดห้องเย็น

– รูปแสดงอุณหภูมิห้องเย็น

– ตารางแสดงสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเก็บรักษาอาหารที่อุณหภูมิต่ำ

– วิธีการคำนวณหา cooling load ของห้องเย็น

– ตารางสำหรับใช้กรอกในการหาค่า cooling load

– ตารางเลือกขนาดห้องเย็นอย่างประมาณสำหรับห้องเย็นประเภท walk in

1-7 หมวดฉนวน

– มาตรฐานฉนวน Aeroflex

– ฉนวนที่ใช้กับอุณหภูมิสูง

– ฉนวนสำหรับใช้กับอุณหภูมิต่ำ

– กราฟหาค่าความหนาของฉนวนของ Aeroflex

– ตารางแสดงค่าความหนาที่แนะนำสำหรับฉนวนของ Aeroflex

– ค่าความต้านทานทางเคมี

– ฉนวนโพลิยูรีเทน

– คุณสมบัติของฉนวนโพลิยูรีเทน

– ความหนาสำหรับฉนวนโพลิยูรีเทน

– ความหนาสำหรับฉนวนโพลิสไตรีน

– คุณสมบัติทางกายภาพของโพลิสไตรีน

– การหาความหนาของฉนวนเพื่อป้องกันการกลั่นตัวของไอน้ำ

ภาคที่ 2 ท่อ-ปั๊ม

2-1 หมวดท่อ-ปั๊ม

– ตารางแสดงระยะห่างระหว่างท่อที่วางคู่กัน

– ตารางแสดงมิติของท่อที่ข้ามกัน 45 องศา

– ตารางแสดงมิติของอุปกรณ์ท่อเชื่อม

– ตารางแสดงมิติของอุปกรณ์ท่อเชื่อม (socket-weleded)

– ตารางมิติของข้อต่อท่อ

– ตารางแสดงมิติของข้อต่อท่อเหล็กเกลียว

– ตารางเทียบขนาดพื้นที่เส้นรอบรูปของท่อขนาดต่างๆ

– ตารางแสดงระยะห่างของจุดรองรับท่อ

– ตารงเปรียบเทียบคุณสมบัติของวาล์วประเภทต่างๆ

– การเลือกวัสดุที่ใช้ทำวาล์วในงานควบคุมของเหลวประเภทต่างๆ

– ตารางแสดงค่าแรงเสียดทานของอุปกรณ์ท่อมาตรฐาน

– กราฟแสดงค่าแรงเสียดทานของน้ำในท่อเหล็กมาตรฐาน

– กราฟแสดงค่าแรงเสียดทานของน้ำในท่อทองแดงผิวในเรียบ

– ตารางแสดงค่าการไหลของน้ำผ่านท่อเหล็ก SCH 40

– วิธีการหาค่าความเสียดทานของของเหลวไหลผ่านท่อ

– หาความเสียดทานโดยวิธีความยาวเทียบเท่าของวาล์วและฟิตติ้ง

– ความเร็วเฉลี่ยของของเหลวในท่อ

– ปริมาตรภายในท่อ

– ขนาดของคอนโทรลวาล์วน้ำ

– กราฟหาสัมประสิทธิ์ของวาล์ว Cv (ใช้กับน้ำ, ความถ่วงจำเพาะ = 1)

– ข้อกำหนดของ ASTM เกี่ยวกับโลหะในงานที่มีอุณหภูมิ และความดันสูงๆ ซึ่งนำมาใช้กับวาล์ว

– ตารางแสดงช่วงความดันและอุณหภูมิสำหรับโลหะชนิดต่างๆ ตามมาตรฐาน ASTM ที่ใช้ทำวาล์ว

– ขนาดเกลียวตามมาตรฐานต่างๆ

– ตารางเทียบมาตรฐานเหล็กอย่างง่าย

– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อเหล็กตามมาตรฐานอเมริกัน

– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อทองแดงตามมาตรฐานอเมริกัน

– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อ พีวีซี ที่ผลิตในประเทศ

– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อเหล็กหล่ออาบสังกะสี

– ตารางแสดงขนาดท่อเหล็กหล่อที่ผลิตในประเทศ

– M & E Variables for High Rise Building

2-2 หมวดท่อลมอัด

– วิธีการหาค่าความดันลดในระบบท่อลมอัด

– ปริมาณการใช้ลมอัดของอุปกรณ์ต่างๆ

– วิธีหาค่ากำลังม้าของเครื่องอัดลม

– กราฟหาค่าอุณหภูมิภายหลังการอัด

– กราฟหาค่ากำลังม้าของเครื่องอัดลม

– ตารางปริมาณของลมอัดที่ท่อเหล็กเกรดปานกลาง ตามมาตรฐาน BS 1387

– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณลมอัดที่ทอลมขนาดต่างๆ สามารถส่งได้ที่ความเร็วต่างๆ กัน (หน่วยเมตริก)

– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณลมอัดที่ทอลมขนาดต่างๆ สามารถส่งได้ที่ความเร็วต่างๆ กัน (หน่วยอังกฤษ)

– ตารางแสดงค่าความยาวเปรียบเทียบของอุปกรณ์ประกอบในท่อ

– โมโนกราฟสำหรับหาค่าความดันลดต่อหน่วยความยาวของท่อ (หน่วยเมตริก)

2-3 หมวดท่อแก๊ส

– รายละเอียดสำหรับหาขนาดท่อแก๊ส

– ตารางหาขนาดท่อสำหรับออกซิเจน

– ตารางสำหรับหาขนาดท่อสำหรับสุญญากาศ

– ตารางสำหรับหาขนาดท่อสำหรับไนโตรเจน

2-4 หมวดป้องกันเพลิง

– รายละเอียดมาตรฐานระบบท่อยืนจากมาตรการป้องกันอัคคีภัยของ วสท. 2526

– รายละเอียดนิยามการจัดแบ่งลำดับสถานที่ป้องกันตามมาตรฐาน

– ตารางแสดงอัตราการจ่ายน้ำที่ต้องการสำหรับ NFPA

– กราฟสำหรับค่าอัตราการยืดนำสปริงเกลอร์ต่อหน่วยพื้นที่

– มาตรฐานระบบสปริงเกลอร์น้ำที่สำคัญจาก NFPA 1986

– ตารางแสดงค่าขนาด orifice และการกำหนดอุณหภูมิของ หัวสปริงเกลอร์

– ตารางแสดงอัตราการฉีดของหัวสปริงเกลอร์มาตรฐาน

– รูปแสดงการจัดวางระยะห่างของหัวสปริงเกลอร์สำหรับเพดานเรียบ และมีเสากลางห้อง

– ตารางแสดงระยะของหัวสปริงเกลอร์ เมื่อติดตั้งในระดับเดียวกัน หรือสูงกว่าท้องคาน

– คำนวณหาปริมาณของน้ำหนักของฮาลอน 1301 ตามปริมาตรห้อง

– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ก (class A)

– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ข (class B)

– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ค (class C)

– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ง (class D)

– อัตราการทนไฟสำหรับวัสดุและองค์ประกอบตามมาตรฐาน วสท. 2526

2-5 หมวดไอน้ำ

– ตารางแปลงหน่วยของหม้อไอน้ำ

– ความเร็วของไอน้ำไหลผ่านท่อ

– โมโนกราฟสำหรับหาความเร็วไอน้ำไหลผ่านท่อ

– ปริมาณไอน้ำที่ใช้ทำน้ำร้อน

– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณไอน้ำที่ใช้ทำน้ำร้อน

– ตารางแสดงคุณสมบัติของไอน้ำอิ่มตัว

– ซูเปอร์ฮีตสตีม

– Logarithmic Mean Temp

– ตารางค่า LMTD (D tm)

– ขนาดของคอนโทรลวาล์วใช้กับไอน้ำ

– กราฟหาสัมประสิทธิ์ของวาล์ว-Cv (ใช้กับไอน้ำอิ่มตัว)

– หน่วยที่นิยมใช้

– คุณสมบัติของความร้อนของน้ำ

– การหาขนาดท่อไอน้ำ

– ตารางหาค่าความยาวสมดุลของท่อ

– การหาค่าการกลายเป็นไอ

– ค่าจำนวนปอนด์ของไอน้ำอิ่มตัวแห้งต่อกำลังม้าของหม้อไอน้ำ

– แฟกเตอร์ของการกลายเป็นไอ

– ตารางแสดงขนาด Deaerator

– Summary of Spirax Sarco Steam Trap Range

– Common Steam Trap Install Sketches

2-6 หมวดปั๊ม

– การหาขนาดมอเตอร์ขับปั๊มน้ำ

– ปริมาณแรงม้าที่ต้องการตามทฤษฏีในการส่งน้ำขึ้นสู่ที่สูงแต่ละระดับ

– ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปั๊มน้ำ

– ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับน้ำมันดิบ

– Static Head, Total Dynamic Head

– ข้อมูลทางไฟฟ้า

– ค่าใช้จ่ายในการสูบน้ำ

– การหาค่าแรงม้าด้วยข้อมูลจากมิเตอร์วัด/ชม.

– กำลังม้าทางทฤษฏีสำหรับสูบน้ำขึ้นสูงในระดับต่างๆ

– วัสดุของปั๊มที่มักเลือกใช้สำหรับของเหลวชนิดต่างๆ

– รายละเอียดการติดตั้ง booster pump

– รายละเอียดสำหรับการออกแบบท่อทางดูดของปั๊ม

– รายละเอียดสำหรับการออกแบบ intake chamber ของ vertical pump

– ตารางเลือกขนาดปั๊มชนิด end suction centrifugal

– ตารางเลือกขนาดปั๊มชนิด hori split case centrifugal

– ตารางแสดงการเลือกขนาดชุดปั๊มรักษาความดัน

2-7 หมวดท่อน้ำประปา

– ตารางแสดงปริมาณการใช้น้ำแยกตามประเภทของอาคาร

– ตารางแสดงการคิดปริมาณการใช้น้ำในหน่วย Fix unit

– ตารางแสดงค่าปริมาณการใช้น้ำ และความดันน้ำ ที่ต้องการสำหรับสุขภัณฑ์แต่ละประเภท

– กราฟสำหรับหาค่าแรงเสียดทานสำหรับมิเตอร์น้ำชนิดดิสก์

– ตารางแสดงค่าการขยายตัวของท่อทองแดง และท่อเหล็ก

– ปริมาณน้ำร้อนสำหรับเครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ (อุณหภูมิ 60 C)

– ปริมาณน้ำร้อนต่อเครื่องสุขภัณฑ์ตามประเภทอาคาร

– คุณภาพน้ำมาตรฐานสำหรับการใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ

– ความต้องการน้ำร้อนตามประเภทอาคาร (อุณหภูมิ 60 C)

– ตารางผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำประปาในเขตกรุงเทพฯ

– ตารางผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำบาดาลในเขตกรุงเทพฯ

– ตารางแสดงค่าการเติมคลอรีน ในลักษณะงานต่างๆ กัน

– ตารางมาตรฐานน้ำดื่มของการประปานครหลวง

– ตารางแสดงค่าการไหลของน้ำในหัวฉีดทางทฤษฏี (แกลลอน/นาที)

– กราฟแปลงค่า Fix unit เป็น gpm (L/s)

– ถังน้ำพีพี

2-8 หมวดท่อส้วม-ท่อน้ำทิ้ง

– ส้วม

– ระบบบำบัดน้ำปฏิกูลจากส้วม

– การเลือกใช้ถังแซทส์

– ถังเกรอะและกรองไร้อากาศ

– ถังเกรอะไฟเบอร์กลาสสำเร็จรูป

– ตารางแสดงปริมาณน้ำเสียต่อหน่วยผู้ใช้

– ตารางแสดงค่าปริมาณน้ำเสีย

– ตารางแสดงค่าปริมาณน้ำเสียเป็น Fixture unit

– ขนาดเล็กที่สุดของ Trap สำหรับสุขภัณฑ์

– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายเมนแนวตั้ง

– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายเมนแนวนอน

– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายแยก

– ตารางแสดงหาค่าขนาดและความยาวของท่ออากาศ

– ตารางแสดงค่าความยาวสูงสุดของท่ออากาศสำหรับท่อระบายแยก

– ตารางหาค่าท่ออากาศ circuit หรือ loop vent

– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝนสำหรับหัวรับน้ำฝน และท่อน้ำฝนขนาดต่างๆ

– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝน (สำหรับรางระบายน้ำ)

– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝน สำหรับท่อแนวราบ

– แทรป

2-9 หมวดไปป์แฮงค์เกอร์

– การออกแบบ pipe hangers

– การกำหนดตำแหน่ง pipe hangers

– การคำนวณการเคลื่อนเนื่องจากการเปลี่ยนอุณหภูมิ

– การขยายตัวของท่อ-นิ้ว/ฟุต (อุณหภูมิ 70 F)

– การคำนวณการรับน้ำหนักของ hangers

– การเลือก hangers ที่ถูกต้อง

– ระยะอย่างต่ำจนถัง rigid hangers ตัวแรก

2-10 หมวดมิติของหน้าแปลน

– มิติของ welding neck flange ตามมาตรฐาน ASA B 16.5-1961

– มิติของ slip-on flange ตามมาตรฐาน ASA B 16.5-1961

ภาคที่ 3 ระบบถัง-วัสดุ-เบ็ดเตล็ด

3-1 หมวดวัสดุกับการกัดกร่อน

– ข้อควรระวังในการใช้ตารางนี้

– ตารางของวัสดุท่อ PE, PP กับการกัดกร่อน (ข้อมูลจาก WH)

– ตารางของวัสดุท่อ PVC, PP กับการกัดกร่อน (ข้อมูลจาก GSR)

3-2 หมวดตารางเหล็ก

– ตารางเหล็ก

– ตารางที่ 1 เหล็ก เอช-บีม (H-Steel)

– ตารางที่ 2 เหล็กฉากด้านเท่า

– ตารางที่ 3 เหล็กรางน้ำ

– ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานเหล็ก พร้อมทั้งคุณสมบัติ ตามมาตรฐาน ASTM, API, DIN, BS

– ตารางแสดงตัวอย่างวัสดุและลักษณะการใช้งาน

3-3 หมวดการเชื่อม

– การเชื่อมแบบซิลด์เมทอลอาร์กเวลดิ้ง

– ตารางแสดงคุณสมบัติของลวดเชื่อมยี่ห้อต่างๆ

– ตารางแสดงลวดเชื่อมที่เหมาะสมสำหรับโลหะชนิดต่างๆ

– ตารางแสดงฟลั๊กที่เหมาะสม

– ตารางแสดงระยะห่างของข้อเชื่อมที่เหมาะสมที่อุณหภูมิเชื่อม

3-4 หมวดสลักเกลียว ตะปูควง

3-5 หมวดค่าความหนืด

– ค่าความหนืด

3-6 หมวดถัง

– ปริมาตรถังกลม

– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรถังกลม

– ตารางปริมาตรเต็มภายในถังกลม

– การหาปริมาตรหัวถัง วางแนวนอน

– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรถังนอนทรงกลมยาว

– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรความจุของถังนอนทรงกลมยาว

– โนโมกราฟสำหรับใช้หาความหนาของหัวถังความดัน

– การหาความหนาของถัง โดยคำนวณจากความดันภายใน (สูตรคิดจากมิติภายนอกถัง)

– ตารางแสดงประสิทธิภาพ (E) ของรอยเชื่อม

– ชนิดของรอยเชื่อม

– คุณสมบัติของ carbon & low alloy steel

– การหาความหนาของถัง โดยคำนวณจากความดันภายนอก

3-7 หมวดการเผาไหม้

– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากเผาเชื้อเพลิงไม่หมด

– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากอุณหภูมิของผลิตผลจากการเผาไหม้

– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์

– ความร้อนสูญเสียไปกับความชื้นในแก๊สเผาไหม้

– ความร้อนสูญเสียไปกับแก๊สภายหลังการเผาไหม้

– ปริมาณอากาศและคาร์บอนไดออกไซด์กับการเผาไหม้

– average heating valve ของเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ และ energy equivalent to NG2

3-8 หมวดก๊าซแอลพีจี

– คุณสมบัติของก๊าซแอลพีจี

– ช่วงการลุกไหม้

– หมวดข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังเชื้อเพลิงและแก๊ส

– สรุปข้อกำหนดเกี่ยวกับการเก็บและสถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงฯ

– ข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังน้ำมันเชื้อเพลิงและถังแก๊ส

– ข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังลอยใหญ่

– ระบบการใช้ก๊าซในอุตสาหกรรม

– อุปกรณ์บนถังก๊าซ

– ท่อส่งก๊าซ ลิ้น และอุปกรณ์

– ระยะห่างระหว่างถัง

– การทดสอบระบบก๊าซก่อนการใช้งาน

– รูปแสดงข้อกำหนดการตั้งถังออกซิเจน

– การใช้ก๊าซจากถังก๊าซหุงต้มในสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ

– สถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซที่มีปริมาณเกิน 500 ลิตร (250 kg)

– สถานที่ใช้ก๊าซที่ไม่ใช่โรงงานตามกฏหมายว่าด้วยโรงงาน

– สถานที่ใช้ก๊าซที่เป็นโรงงานตามกฏหมายว่าด้วยโรงงาน

– Schedule of Cylinder Date

ภาคที่ 4 Acoustic

– พื้นฐานของ Acoustic

– An Introduction to Architectural (Building) Acoustic

– Duct Silencers

– How To Designate TYPE LFS

– How To Designate TYPE LFM

– How To Designate TYPE LFL

– How To Designate TYPE FCS

– How To Designate TYPE FCL

– How To Designate TYPE S

– How To Designate TYPE MS

– How To Designate TYPE ML

– How To Designate TYPE L

– How To Designate TYPE CS/CL

– How To Designate TYPE NS/NL