เคาะพ่นสีรถยนต์

9746860534-10703-BMรหัสหนังสือ: 10703   ชื่อหนังสือ: เคาะพ่นสีรถยนต์
ISBN: 9746860534
ผู้แต่ง: อ.พงษ์ศักดิ์ บุญธรรมกุล
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 329
ราคาปก 290 บาท
ราคาพิเศษ 261 บาท  *หนังสือมีตำหนิที่ปกเล็กน้อย แต่เนื้อหาครบ

เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมเอาเทคนิคการเคาะพ่นสี จากแหล่งต่างๆ ไว้มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการค้นคว้าจาก ตำราต่างประเทศหลายเล่ม, การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และจากประสบการณ์ ในการทำงานที่ยาวนาน ของผู้เขียนเอง โดยทุกบทมีภาพประกอบการอธิบาย ทำความเข้าใจง่าย ซึ่งในแต่ละบท ล้วนมีความสำคัญกับงาน เคาะพ่นสีทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น ความปลอดภัยในโรงงานซ่อมตัวถัง และพ่นสีรถยนต์, เครื่องมือพื้นฐาน ประเภทใช้เครื่องมือ, เทคนิคการเชื่อม, การเคาะตัวถัง, ศูนย์ล้อ, การแยกรูปทรงของตัวถัง, การตัดตัวถัง, งานด้านกระจก, การซ่อมสนิม, การโป้วตัวถัง, ความรู้เกี่ยวกับสี, เทคนิคการพ่นสี, อุปกรณ์การพ่นสี, และการป้องกันและแก้ไขปัญหา จากการพ่นสี เป็นต้น

จึงนับว่าหนังสือนี้ เหมาะสมกับช่างเคาะพ่นสี อู่ซ่อมรถยนต์ ตลอดจน นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจเกี่ยวกับ การเคาะพ่นสีรถยนต์

นอกจากนี้ หนังสือเคาะพ่นสีรถยนต์ ยังเรียบเรียง ตรงตามหลักสูตร ช่างเคาะพ่นสีตัวถังรถยนต์ ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และสวัสดิการสังคม ตลอดจนช่างสีรถยนต์ที่เข้ารับการอบรม ตามหลักสูตรของ อู่กลางกรมการประกันภัย และยังสอดคล้องกับ หลักสูตร ปวช. ปวส. สาขาช่างเครื่องยนต์ และช่างเชื่อมโลหะแผ่น

สารบัญ

1. ความปลอดภัยในโรงงานซ่อมตัวถังและพ่นสีรถยนต์
– ความปลอดภัยในโรงงาน
– ความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องมือในโรงงาน
– ความปลอดภัยด้านสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
– ความปลอดภัยในการใช้เครื่องดับเพลิง
– สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย
– แบบทดสอบที่ 1
2. เครื่องมือพื้นฐานประเภทใช้มือ
– ค้อน
– ค้อนตู้
– ช้อนรอง
– เหล็กงัดตัวถัง
– ตะไบ
– เครื่องมือแบบอื่นๆ
– เครื่องมือประเภทใช้กำลังดันลม
– การเลือกใช้ผ้าทรายขัดกับเครื่องขัดแบบจานกลม
– เครื่องตัดของจานขัดให้เล็กลง
– เครื่องขัดโลหะ
– แบบทดสอบที่ 2
3. เทคนิคการเชื่อม
– อุปกรณ์การเชื่อมแก๊ส
– เครื่องควบคุมแรงดันแก๊ส
– การจุดเปลวไฟเชื่อมที่หัวทอร์ช
– ท่าเชื่อม
– การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า
– เครื่องเชื่อมแบบอาร์กด้วยกระแสสลับ
– ลวดเชื่อม
– การเลือกใช้ลวดเชื่อม
– การเลือกใช้ลวดเชื่อม
– เทคนิคการเริ่มเชื่อมไฟฟ้า
– การส่งถ่ายน้ำโลหะ
– แก๊สคลุม
– หน้ากากเชื่อม
– การตั้งมุมของหัวเชื่อม
– ทิศทางการเดินของแนวเชื่อม
– ระยะปลายลวดอิสระ
– ตัวแปรการเชื่อม
– ความเร็วในการเชื่อม
– หัวเชื่อมมิก
– ลวดเชื่อมมิก
– การป้องกันสะเก็ดเชื่อม
– เครื่องเชื่อมจุด
– เทคนิคการเชื่อมสปอต
– การตัดตัวถังด้วยพลาสม่า
– พลาสม่าคืออะไร
– การเกิดพลาสม่า
– การทำงานของหัวตัดพลาสม่า
– ระบบตัดของพลาสม่า
– การตัดโลหะด้วยหัวตัดแก๊สออกซิอะเซทิลีน
– การตัดเหล็กแผ่นหนา
– การตัดเหล็กแผ่นบาง
– ความปลอดภัยในการตัด
– การบัดกรีแข็งและการเชื่อมทองเหลือง
– แบบทดสอบที่ 3
4. เทคนิคการเคาะตัวถัง
– แนวคิดของการซ่อมตัวถัง
– ความจำเป็นที่ต้องซ่อมตัวถังรถยนต์
– การวิเคราะห์ความเสียหาย
– การใช้ค้อนกระทุ้ง
– การใช้เหล็กดึงขึ้นรูป
– การเคาะเก็บเรียบร้อยขรุขระ
– การทำให้โลหะหดตัว
– ทิศทางของการชนกระแทก
– ทฤษฎีการแตกแรงดึง หรือ Pythagoras Theory
– แบบทดสอบที่ 4
5. ศูนย์ล้อ
– หลักการทำงานของล้อหน้า
– การกระจายน้ำหนักที่กระทำบนล้อ
– แคมเบอร์
– แคสเตอร์
– มุมคิงพิน
– Off-Set
– มุมโทอิน
– แทรกกิง
6. การแบ่งรูปทรงของตัวถังรถยนต์
– รถเก๋งแบบแวน
– โครงสร้างของตัวถังรถยนต์
– การวัดขนาดตัวถัง
7. เทคนิคการตัดตัวถังด้วยเครื่องมือลม
– การตัดตัวถังด้วยเลื่อยลม
– การตัดตัวถังด้วยสกัดลม
– การตัดตัวถังด้วยหินเจียระไนลม
– การเลาะรอยสปอตด้วยสว่านหรือเครื่องเจาะรอยเชื่อมสปอต
– การปรับตั้งกลอนประตูและฝากระโปรง
– โครงรถแบบเต็มคัน
– โครงรถแบบตัวถังในตัว- แบบทดสอบที่ 7
8. งานกระจกรถยนต์
– กระจกชนิดติดอยู่กับที่
– กระจกชนิดเคลื่อนที่ได้
– งานยาตัวถังด้วยซีแลนด์
– แบบทดสอบที่ 8
9. การซ่อมป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
– การป้องกันการกัดกร่อน
– เหล็กแผ่นความแข็งแรงสูง
– การซ่อมป้องกันสนิมโดยใช้แผ่นไฟเบอร์กลาส
– แบบทดสอบที่ 9
10. การโป๊วตัวถังรถยนต์
– การโป้วตัวถังด้วยสีโป้วพลาสติก
– เทคนิคการโป้วสีบังโคลนหน้า
– การแห้งตัวของสีโป้วพลาสติกบนตัวถังรถยนต์
– การขัดสีโป้วโลหะหรือสีโป้วพลาสติก
– ขั้นตอนการเตรียมผิวระบบขัดแห้ง
– แบบทดสอบที่ 10
11. เครื่องอัดอากาศ
– เครื่องอัดอากาศ 1 จังหวะ
– เครื่องอัดอากาศ 2 จังหวะ
– การพิจารณาติดตั้งเครื่องอัดอากาศ
– การเลือกใช้เครื่องอัดอากาศ
– การเดินท่อลม
– แบบทดสอบที่ 11
12. ประวัติสีพ่นรถยนต์
– แบบทดสอบที่ 12
13. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสีทั่วๆ ไป
– สีคืออะไร
– ผงสี
– สิ่งนำสี
– ตัวทำละลาย
– ตัวปรับคุณสมบัติของสี
– การผลิตสี
– การแห้งตัวของสี
– ชนิดของสี
– กระบวนการผลิตรถยนต์ที่เกี่ยวข้องกับสี
– สีธรรมดา
– สีบรอนซ์
– สีมุก
– สีพิเศษ
– แหล่งกำเนิดสี
– หลักในการผสมสี
– การเปรียบเทียบสี
– รหัสสีของตัวถัง
– เทคนิคการพ่นสีให้เหมือนกัน
– เทคนิคเบื้องต้นในการเทียบสี
– การเทียบสี
– สีทับหน้า
– ระบบพ่นสีแบบใช้ไฟฟ้าสถิต
– แบบทดสอบที่ 13
14. การปิดกระดาษและกระดาษกาว
– แบบทดสอบที่ 14
15. ปืนพ่นสี
– ปืนพ่นสีแบบไหลลง
– ปืนพ่นสีแบบดูด
– ปืนพ่นสีแบบอัด
– ปืนพ่นสีแบบลมไหลผ่านตลอด/ไม่ไหลผ่านตลอด
– ปืนพ่นสีแบบพ่นสีล้วน
– การเลือกใช้ปืนพ่นสี
– การเลือกหัวลม
– การปรับปืนพ่นสี
– ความรู้พื้นฐานในการพ่นสี
– แบบทดสอบที่ 15
16. เทคนิคการพ่นสี
– หลักในการพ่นสี
– กฎพื้นฐานที่ช่วยให้การพ่นสีสวยงาม
– เทคนิคการซ่อมแผลสีธรรมดา ระบบ 21 ไลน์
– เทคนิคการซ่อมแผลระบบ 54 ไลน์ (เมทัลลิก)
– เทคนิควิธีการซ่อมแผลระบบ 54 ไลน์ (solid) และ 59 ไลน์
– การพ่นสีรถยนต์ทั้งคัน
– อุปกรณ์การพ่นสี
– แหล่งกำเนิดความร้อน
– เตาอบรถในโรงงานประกอบรถยนต์
17. การล้างกาพ่นสี
– การหล่อลื่นปืนพ่นสี
– ปัญหาเกี่ยวกับปืนพ่นสีและการแก้รูปร่างของสีที่ถูกต้อง
– แบบทดสอบที่ 17
18.ห้องพ่นสี
– อุณหภูมิภายในห้องพ่นสี
– อุปกรณ์อบสี
– ระบบระบายอากาศ
– ยาขัดสีให้เรียบ
– แบบทดสอบที่ 18
19. การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการพ่นสีรถยนต์
– ผลระหว่างการพ่นสี
– ผลที่เกิดหลังการพ่นสี
– แบบทดสอบที่ 19
20. วิธีคิดราคางานซ่อมตัวถังรถยนต์
– วิธีคิดราคาแบบบริษัท
– วิธีคิดราคาแบบอู่รถยนต์
– อู่กลางของกรมการประกันภัยกระทรวงพาณิชย์
– แบบทดสอบที่ 20
21. การออกแบบโรงงานซ่อมตัวถังและพ่นสี
– การจัดวางผังโรงงาน
– แบบทดสอบที่ 21
22. เครื่องมือและอุปกรณ์งานพ่นสี
– เครื่องมืองานพ่นสี
– เครื่องขัดกระดาษทราย
– เครื่องมืองานซ่อมตัวถัง
– เครื่องมือวัด