คู่มือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding)

การเชื่อมมิก-แม๊กรหัสหนังสือ: 13005   ชื่อหนังสือ: คู่มือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding)
ISBN: 9746860429
ผู้แต่ง: อ.มานะศิษฏ์ พิมพ์สาร
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 297
ราคา 240 บาท

ปัจจุบัน กระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม เป็นเทคโนโลยี การเชื่อมชนิดใหม่ ที่ถูกนำมาใช้ แทนกระบวนการเชื่อมแบบเดิม ที่ใช้ธูปเชื่อมมากขึ้น โดยมีคนไทย ใช้เทคโนโลยีการเชื่อมแบบใหม่นี้ ประมาณ 50 % ของการเชื่อมทั้งหมด ที่มีอยู่ในปัจจุบัน กระบวนการเชื่อม อาร์กโลหะก๊าซคลุมนี้ เป็นกระบวนการที่พิสูจน์แล้วว่า สามารถเพิ่มผลผลิตได้จริง เพราะเป็น กระบวนการเชื่อม ที่ควบคุมง่าย ให้ประสิทธิรอยต่อสูง เชื่อมได้รวดเร็ว และประหยัดเวลา ในการทำความสะอาด งานเชื่อมไม่ต้องใช้ฝีมือช่างเชื่อมสูงนัก ก็สามารถปฏิบัติงานได้ทันที

เนื้อหาของคู่มือการเชื่อมมิก-แม็ก แบ่งออกเป็น 16 บท ได้แก่ การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม, หลักการเชื่อม, อุปกรณ์การเชื่อม, ก๊าซคลุม, ลวดเชื่อม, ตัวแปรการเชื่อม, ข้อกำหนดรายละเอียดการเชื่อม, จุดบกพร่องในงานเชื่อม, การออกแบบรอยต่องานเชื่อม, ต้นทุนการเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม, วิธีปฏิบัติการเชื่อม, การเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม, การเชื่อมอะลูมิเนียม, การเชื่อมทองแดง, และการเชื่อมท่อ

นอกจากนี้ ยังชี้ให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการเชื่อม และเครื่องมือต่างๆ, สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ไว้ในภาคผนวก พร้อมทั้งรวบรวมตารางต่างๆ ที่ผู้ทำงานเกี่ยวกับการเชื่อม อาจต้องใช้ไว้มากมาย เช่น ตารางรายละเอียด เหล็กกล้าคาร์บอน และเหล็กกล้าเจือ, ตารางระบบมาตรฐานเหล็กกล้าไร้สนิม และเหล็กกล้าทนความร้อน, ตารางการเลือกใช้ลวดเชื่อมอะลูมิเนียม และตารางอื่นๆ อีกมากมาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้อ่าน สามารถค้นคว้าทุกๆ อย่างได้จากหนังสือเล่มนี้เพียงเล่มเดียว

สารบัญ

1. การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
– การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
– ข้อดีและข้อเสียของการเชื่อมมิก
– กระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
– ความสามารถในการเชื่อม
– โลหะที่สามารถเชื่อมได้
– การออกแบบรอยต่อ
– วัสดุสำหรับการเชื่อม
– วงจรการเชื่อมและกระแสเชื่อม
– อัตราการเติมเนื้อโลหะ
2. หลักการเชื่อม
– ระบบการอาร์ก
– การถ่ายโอนโลหะ
– การถ่ายโอนแบบละออง
– การถ่ายโอนแบบหยดขนาดใหญ่
– การถ่ายโอนแบบลัดวงจร
– วัฏจักรการถ่ายโอน
– การถ่ายโอนแบบพัลส์
– ข้อดีของกระแสต่ำ มีผลต่อการควบคุมการถ่ายโอนหยดโลหะ
– การเชื่อมจุด
3. อุปกรณ์การเชื่อม
– เครื่องเชื่อม
– วัฏจักรทำงานของเครื่องเชื่อม
– ชนิดเครื่องเชื่อม
– การควบคุม
– ความชัน
– การควบคุมแรงดัน
– การควบคุมกระแส
– การควบคุมความชัน
– การควบคุมความเหนี่ยวนำ
– การควบคุมอย่างอื่น
– ชุดป้อนลวดและม้วนลวด
– ที่ใส่ม้วนลวดและชุดเบรก
– มอเตอร์ขับลวด
– ล้อดัดลวด
– ล้อขับลวด
– ระบบการป้อนลวด
– วิธีดึงลวด
– วิธีดันและดึงลวด
– หัวเชื่อม
– หัวเชื่อมระบายความร้อนด้วยอากาศ
– ลักษณะหัวเชื่อม
– ส่วนประกอบของหัวเชื่อม
– หัวฉีดก๊าซ
– สายเชื่อมและสายนำ
– สายส่งก๊าซ
– สายหล่อเย็น
– สายไฟเชื่อม
– อุปกรณ์สำหรับก๊าซคลุม
– อุปกรณ์อื่นๆ
– อุปกรณ์ช่วยงานเชื่อม
4. ก๊าซคลุม
– ชนิดของก๊าซคลุม
– สมบัติกายภาพ
– อาร์กอน
– ฮีเลียม
– คาร์บอนไดออกไซด์
– ก๊าซผสม
– อัตราการไหลของก๊าซคลุม
– การเลือกก๊าซ์คลุมสำหรับโลหะงานเชื่อม
5. ลวดเชื่อม
– การเลือกใช้ลวดเชื่อม
– ขนาดลวดเชื่อม
– ลวดเชื่อม AWS ชนิดต่างๆ
6. ตัวแปรการเชื่อม
– ตัวแปรเลือกขั้นต้น
– ตัวแปรปรับปฐมภูมิ
– ตัวแปรปรับทุติยภูมิ
– อัตราการไหลของก๊าซคลุม และระะห่างของหัวฉีด
– มุมหัวเชื่อม
– ลักษณะเฉพาะของการเชื่อมแบบผลักลวด
– ลักษณะเฉพาะของกาเรชื่อมแบบลากลวด
7. ข้อกำหนดรายละเอียดการเชื่อม
– ข้อกำหนดรายละเอียดสำหรับ การเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
– เหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดา และเหล็กกล้าเจือต่ำ – แบบลัดวงจร
– เหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดา และเหล็กกล้าเจือต่ำ – แบบหยอดขนาดใหญ่
– เหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดา และเหล็กกล้าเจือต่ำ – แบบละออง
– เหล็กกล้าไร้สนิม
– อะลูมิเนียม และอะลูมิเนียมเจือ
– ทองแดง และทองแดงเจือ
– นิกเกิล และนิกเกิลเจือ
– เหล็กกล้าคาร์บอนธรรมดา – แบบเชื่อมจุด
– อะลูมิเนียม และอะลูมิเนียมเจือ
8. จุดบกพร่องในงานเชื่อม
– รอยเกย
– การหลอมทะลุ
– การหลอมไม่สมบูรณ์
– ความพรุน
– เศษลวดติดบนตะเข็บเชื่อม
– การร้าว
– รอยบุ๋ม
– ประกายโลหะมาก
– การเขี่ยอาร์ก
– ปัญหาอื่น
– ก๊าซคลุมไม่พอ
– ท่อนำกระแสอุดตันหรือสกปรก
– ลวดเชื่อมหยุดป้อน
9. การออกแบบรอยต่องานเชื่อม
– ความต้านแรง
– ตำแหน่งการเชื่อม
– ความหนา
– ความสามารถเข้าเชื่อมได้
– แผ่นรองเชื่อม
– ชนิดของโลหะ
– การออกแบบรอยต่องานเชื่อม
10. ต้นทุนการเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
– การประกอบรอยต่อ
– การเชื่อมมากเกินไป
– กระแสเชื่อม
– ลวดเชื่อม และกระบวนการเชื่อม
– การประมาณต้นทุนการเชื่อม
– องค์ประกอบของการประมาณต้นทุนการเชื่อม
– ค่าลวดเชื่อม
– ค่าประกอบงานเชื่อม
– ค่าก๊าซ
– ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
– เวลาเชื่อม
11. วิธีปฏิบัติการเชื่อม
– การเริ่มต้นปฏิบัติการเชื่อม
– การปฏิบัติการเชื่อม
– เทคนิคการเชื่อม
– การเริ่มต้นอาร์ก
– การปฏิบัติก่อนสิ้นสุดการเชื่อม
– มุมหัวเชื่อม
– การควบคุมอาร์ก
– การเคลื่อนที่หัวเชื่อม
– ตำแหน่งแนวเชื่อม
– การป้องกันร่างกาย
– การระบายอากาศ
12. การเชื่อมเหล็กกล้า
– วัสดุ
– วิธีปฏิบัติก่อนการเชื่อม
– วิธีปฏิบัติการเชื่อม
– ตรวจสอบการทำงาน
– การเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอน
– รอยเชื่อมชนหน้าฉากและรอยเชื่อมฉาก สำหรับรอยต่อชน รอยเกย รอยต่อรูปตัวที ตำแหน่งแนวราบ
– รอยเชื่อมชนหน้าฉากและรอบเชื่อมฉาก สำหรับรอยต่อชน ต่อเกย และต่อรูปตัวที ตำแหน่งแนวระดับ
– รอยเชื่อมชนหน้าฉากและรอยเชื่อมฉาก สำหรับรอยต่อชน ต่อเกย และต่อรูปตัวที ตำแหน่งแนวตั้งเชื่อมลง
– รอยเชื่อมชนหน้าฉากและรอยเชื่อมฉาก สำหรับรอยต่อชน ต่อเกย และต่อรูปตัวที ตำแหน่งแนวตั้งเชื่อมขึ้น
– รอยเชื่อมชนหน้าฉากและรอยเชื่อมฉาก สำหรับรอยต่อชน ต่อเกย และต่อรูปตัวที ตำแหน่งแนวเหนือศรีษะ
– รอยเชื่อมชนรูปวีด้านเดียว ตำแหน่งแนวราบ
– รอยเชื่อมชนรูปวีด้านเดียว ตำแหน่งแนวขนาน
– รอยเชื่อมชนรูปวีด้านเดียว ตำแหน่งแนวตั้งเชื่อมลง
– รอยเชื่อมชนรูปวีด้านเดียว ตำแหน่งแนวตั้ง – เชื่อมขึ้น
– รอยเชื่อมชนรูปวีด้านเดียว ตำแหน่งเหนือศรีษะ
13. การเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิม
– การเลือกก๊าซคลุม
– เทคนิคการเชื่อม
– วัสดุ
– วิธีปฏิบัติก่อนทำการเชื่อม
– ตรวจสอบการปฏิบัติงานเชื่อม
14. การเชื่อมอะลูมิเนียม
– ลวดเชื่อม
– การเตรียมงาน
– การจับยึดงานเชื่อม
– มุมหัวเชื่อม
– การเริ่มและหยุดเชื่อม
– ก๊าซคลุม
– การถ่ายโอนโลหะ
– วัสดุ
– วิธีปฏิบัติก่อนทำการเชื่อม
– ปฏิบัติการเชื่อม
– การเชื่อมรอยต่อชน
– การเชื่อมรอยต่อรูปตัวทีและต่อเกย
– ตรวจสอบการปฏิบัติงานเชื่อม
15. การเชื่อมทองแดง
– วิธีปฏิบัติก่อนการทำการเชื่อม
– ปฏิบัติการเชื่อม
16. การเชื่อมท่อ
– ข้อดีของการเชื่อม
– ก๊าซคลุม
– อัตราการไหลของก๊าซคลุม
– ลวดเชื่อม
– การเตรียมรอยต่อ
– การประกอบรอยต่อ
– แนวศูนย์และการเชื่อมยึด
– การทำความสะอาดระหว่างเที่ยวเชื่อม
– เทคนิคการเชื่อมเบื้องต้น
– การเชื่อมท่อขนานคงที่
– การเชื่อมตะเข็บเชื่อมฐานรอยต่อ
– การเชื่อมตะเข็บเชื่อมเติม
– เทคนิคการเชื่อมลง
– การเชื่อมตะเข็บเชื่อมปิด
– เทคนิคการเชื่อมปิด
– เทคนิคการเชื่อมขึ้น
– การเชื่อมท่อแนวดิ่งคงที่
– การเชื่อมตะเข็บเชื่อมเติม
– การเชื่อมตะเข็บเชื่อมปิด
– ข้อควรระวังในการเชื่อมท่อ
– ข้อควรจำในการเชื่อมอาร์กโลหะก๊าซคลุม
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
ดรรชนี