การวัดและการควบคุม ชุดที่ 1

9789746861199-12302-BMรหัสหนังสือ: 12302 ชื่อหนังสือ: การวัดและการควบคุม ชุดที่ 1
ISBN    : 9789746861199
ผู้แต่ง: รวมบทความจากวารสารเทคนิคและวารสารEC
สำนักพิมพ์    : เอ็มแอนด์อี
ขนาด    : 18.5 x 26.0 ซม.
จำนวน    : 410 หน้า
เดือนปีที่พิมพ์: มีนาคม 2555
ราคา 350 บาท

รวมบทความจากวารสารเทคนิคและวารสารEC ซึ่งประกอบด้วย case study และ คำนวณ

สารบัญ

เครื่องมือวัด

  • ไดนาโมมิเตอร์สำหรับวัดแรงในการตัดเฉือนโลหะ
    • หลักการทำงานของเครื่องมือวัดแรงในการตัดเฉือน
    • ไดนาโมมิเตอร์วัดแรงแบบสเตรนเกรจ สำหรับงานกลึง
    • ลักษณะการใช้งานของไดนาโมมิเตอร์วัดแรง
  • เครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาคจุลสารในอากาศ
    • ลักษณะเฉพาะของอนุภาค
    • หลักการวัดขนาดอนุภาค
    • อุปกรณ์และเครื่องวิเคราะห์อนุภาคจุลสาร
  • ระบบเครื่องมือวัดอัจฉริยะ
  • ระบบเครื่องมือวัด
  • ทำไมต้องเป็น True RMS มิเตอร์
    • การวัดค่าแบบ True RMS (คำนวณ)
    • การวัดค่าเฉลี่ยแล้วแปลงเป็นค่า RMS (คำนวณ)
    • ความผิดพลาดจากรูปคลื่นที่ไม่เป็นไซน์ (คำนวณ)
  • ความสามารถเบื้องต้นของเครื่องวัดดิจิตอล (คำนวณ)
  • พอร์ต GPIB ของเครื่องมือวัดสามารถควบคุมได้อย่างไร
    • ความเป็นมาของระบบบัส GPIB (IEEE-488)
    • คุณสมบัติและข้อจำกัดในการต่อพ่วงอุปกรณ์
    • สัญญาณต่างๆ ภายในระบบ GPIB
    • ขบวนการแฮนด์เช็ค
    • คำสั่งใช้งานของ GPIB (IEEE-488)

การวัด

  • การวัดและควบคุมระดับของกระบวนการ
    • อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบไซต์ (คำนวณ)
    • อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบใช้ความดัน
    • อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบใช้คุณสมบัติทางไฟฟ้า
    • อุปกรณ์ตรวจวัดระดับแบบใช้การแพร่รังสี
    • สวิตซ์ตรวจวัดระดับ
  • การตรวจวัดการไหลของกระบวนการ
    • การตรวจวัดการไหลของของแข็ง (คำนวณ)
    • การตรวจวัดการไหลของของไหล (คำนวณ)
    • เทคนิคการตรวจวัดการไหล (คำนวณ)
  • การวัดและควบคุมกระบวนการเชิงวิเคราะห์ (คำนวณ)
    • การตรวจวัดค่าความนำทางไฟฟ้า
    • การตรวจวัดและควบคุมค่า pH
    • การตรวจวัดค่าความถ่วงจำเพาะและความหนาแน่น
    • การตรวจวัดความชื้น

เซนเซอร์

  • เซนเซอร์ตรวจวัดระยะขจัดและการเคลื่อนที่ (1) (case study), (คำนวณ)
    • ระยะขจัดเชิงเส้น
    • ระยะขจัดเชิงมุม
    • พรอกซิมิตี้
    • อัตราเร่ง
  • เซนเซอร์ตรวจวัดแรงกระทำทางกล (case study), (คำนวณ)
    • สเตรนเกจ
    • วงจรบริดจ์แบบวีทสโตน
    • วงจรสเตรนเกจ
    • ความไวของวงจรบริดจ์แบบวีทสโตน
    • การปรับแต่งและการปรับสมดุลวงจรบริคจ์แบบวีทสโตนที่มีสเตรนเกจ
    • การปรับแต่งแรงดันเอาต์พุตที่ได้จากวงจรบริดจ์แบบวีทสโตนเพื่อการนำไปใช้งาน
  • เซนเซอร์ตรวจวัดปริมาตร น้ำหนัก และระดับของของเหลว (คำนวณ)
    • เซนเซอร์ตรวจวัดระดับของของเหลว
    • เซนเซอร์ตรวจวัดน้ำหนักหรือแรงกระทำทางกล
  • เซนเซอร์ตรวจวัดความดันอากาศ (คำนวณ)
    • มาโนมิเตอร์ของเหลว
    • เซนเซอร์ตรวจวัดความดันแบบอิลาสติก
    • เซนเซอร์ตรวจวัดความดันแบบคาปาซิทีฟ
    • เซนเซอร์ตรวจวัดความดันแบบเพียโซอิเล็กทริก
    • เซนเซอร์ตรวจวัดความดันแบบเพียโซรีซีสทีฟ

การควบคุม

  • นานาเหตุผลในการเลือกตัวควบคุมอัตโนมัติ
    • ดิจิตอลหรือแอนะลอก
    • ออกแบบวงจรเพื่อแก้ปัญหาอะไร
    • การควบคุมที่แตกต่างออกไป
  • ลูปควบคุมกระบวนการ (case study), (คำนวณ)
    • ลูปควบคุมป้อนกลับ
    • ลูปควบคุมขั้นสูง
  • เทคนิคและแนวทางในการปรับแต่งระบบควบคุม (case study), (คำนวณ)
    • แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
    • ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดการควบคุม
    • เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
  • รูปแบบของตัวส่งสัญญาณ 4-20 mA ในการควบคุมกระบวนการ
    • ทรานสดิวเซอร์และทรานสมิตเตอร์
    • มาตรฐานระดับสัญญาณจากการวัด
  • การควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับแบบ 3 เฟส (case study), (คำนวณ)
    • การควบคุมโหลดตัวต้านทานที่ต่อแบบสตาร์
    • การควบคุมโหลดตัวเหนี่ยวนำ
    • การต่อควบคุมโหลดแบบเดลต้า
    • ออกแบบชุดทริก
  • ประยุกต์ใช้งานวงจรควบคุมโหลดด้วยสัญญาณเสียง DTMF
    • หลักการประยุกต์ใช้งาน

PLC

  • PLC (1)
    • โครงสร้างและส่วนประกอบของ PLC
    • การทำงานของ PLC
    • ผลของเวลาในการตอบสนองของ PLC
    • การโปรแกรมโดยใช้ PLC แทนรีเลย์
    • การสแกนโปรแกรม
    • การใช้งานตัวนับจะต้องทราบอะไรบ้าง
    • การใช้ตัวตั้งเวลาจะต้องทราบอะไรบ้าง
  • PLC (2)
    • อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต
    • หน่วยอินพุต
    • หน่วยเอาต์พุต
    • การเชื่อมต่ออุปกรณ์ input เข้ากับหน่วย input ของ PLC
    • การเชื่อมต่ออุปกรณ์ output เข้ากับหน่วย output ของ PLC
  • PLC (3) (คำนวณ)
    • Analog input module
    • Analog output module
    • การเชื่อมต่อ input-output กับ analog input – output module
    • การปรับเปลี่ยนสเกล

ไมโครคอนโทรลเลอร์

  • การควบคุมอย่างประหยัดด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล MCS51
    • ส่วนประกอบของไมโครคอมพิวเตอร์
    • ความรู้เบื้องต้นไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล MCS51
    • การเลือกใช้งาน CPU MCS51
  • การออกแบบฮาร์ดแวร์ที่ใช้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ (คำนวณ)
    • การใช้งานทรานซิสเตอร์
    • การใช้งานไดโอดเปล่งแสง
    • การใช้งานรีเลย์
    • การใช้งานออปโต้ไอโซเลเตอร์
    • การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ร่วมกับฮาร์ดแวร์
  • การอนุวัตตัวควบคุม PIDA แบบดิจิตอลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ MCS-51 (คำนวณ)

การประยุกต์ใช้งาน

  • ความละเอียดของภาพความร้อนมีความสำคัญอย่างไร
  • เทคโนโลยี RFID
    • หลักการของ RFID
    • ระบบการบ่งชี้เอกลักษณ์ที่มีอยู่
    • พื้นฐานทางความถี่ที่ใช้ใน RFID
    • การประยุกต์ใช้งาน
    • ลักษณะแห่งพลังงาน
  • การควบคุมด้วยรหัสดิจิตอลและการตรวจสอบความผิดพลาดข้อมูล (1) (คำนวณ)
    • การนำรหัสดิจิตอลมาใช้ในการควบคุม
  • การควบคุมด้วยรหัสดิจิตอลและการตรวจสอบความผิดพลาดข้อมูล (2) (คำนวณ)
    • สาเหตุและการแก้ไขความผิดพลาด
    • วิธีการตวจสอบความผิดพลาด
  • ระบบคอมพิวเตอร์
    • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
    • สัญญาณไฟฟ้าสื่อสารระหว่างอุปกรณ์
  • ระบบเดต้าแอควิซิชันแอนคอนโทรล
    • ระบบเครื่องมือวัดเก็บบันทึกข้อมูล
  • มองเข้าไปในระบบอัตโนมัติรวมสำหรับอาคาร
    • ชนิดของระบบอัตโนมัติ
    • ระบบอัตโนมัติของยุโรป
    • การควบคุมระบบแบบต่างๆ
    • การแก้ไขปัญหาระบบเมื่อเกิดปัญหา
  • การปรับค่าพารามิเตอร์ของตัวควบคุม PID โดยใช้ Matlab (คำนวณ)
    • การควบคุมกระบวนการ
    • การออกแบบตัวควบคุม
  • วิวัฒนาการของ Plant Automation (คำนวณ)
    • พื้นฐานระบบควบคุม
    • โครงสร้างระบบควบคุม
    • ตัวอย่างการควบคุมกระบวนการ