คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 1

9789746861069-12201-BMรหัสหนังสือ: 12201  ชื่อหนังสือ: คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 1
ISBN
9789746861069
ผู้แต่ง เทคนิค/เอ็มแอนด์อี บจ.

ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 260
กระดาษ ปอนด์
ราคา 215 บาท

คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 1 รวบรวมบทความที่น่าสนใจทางด้านคุณภาพไฟฟ้า ที่พิมพ์ในวารสารเทคนิค และวารสาร EC โดยแบ่งเป็นหกหมวด คือ 1. คุณภาพไฟฟ้า 2. แรงดันไฟตก-เพิ่ม, การรบกวน 3. ฮาร์มอนิก 4. ยูพีเอส 5. คาปาซิเตอร์, ตัวประกอบกำลัง 6. การต่อลงดิน, การป้องกันฟ้าผ่า โดยมีตัวอย่างชื่อบทความ เช่น

การสำรวจและปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าให้เหมาะสม, คุณภาพไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม, ปัญหาแรงดันตกชั่วขณะในระบบไฟฟ้า, การป้องกันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบไฟฟ้าจากแรงดันไฟฟ้าเกินชั่วขณะ, สาเหตุและผลกระทบของฮาร์มอนิกส์, การควบคุมขอบเขตฮาร์มอนิกของอุปกรณ์ไฟฟ้า, เลือกยูพีเอสแต่ละชนิดตรึกตรองสักนิดเรื่องค่าไฟฟ้า, ข้อควรรู้ในการเลือกซื้อ UPS, เมื่อคาปาซิเตอร์เพิ่มค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ไม่ได้, การเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ไม่ควรเกิน 95 %, การต่อลงดิน จุดอ่อนที่เกิดปัญหาอยู่เสมอ, อุปกรณป้องกันแรงดันเสิร์จจากฟ้าผ่า ฯลฯ

สารบัญ
1. คุณภาพไฟฟ้า
การสำรวจและปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าให้เหมาะสม
– ความเชื่อถือได้ทางไฟฟ้า ความมั่นคงในระบบที่ควรพิจารณาอย่างถี่ถ้วน
– ไฟฟ้าล้มเหลวมาจากคุณภาพไฟฟ้าไม่ดีอย่างเดียวหรือ
– คุณภาพไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
– การประเมินค่าระดับความผิดเพี้ยนของแรงดันในระบบไฟฟ้าตามมาตรฐาน G5/4
2. แรงดันไฟตก-เพิ่ม, การรบกวน
การคำนวณค่าแรงดันตกในสายไฟฟ้า
– ปัญหาแรงดันตกชั่วขณะในระบบไฟฟ้า
– การป้องกันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบไฟฟ้าจากแรงดันไฟฟ้าเกิน ชั่วขณะ
3. ฮาร์มอนิก
การควบคุมขอบเขตฮาร์มอนิกของอุปกรณ์ไฟฟ้า
– ความสามารถในการรับกระแสฮาร์มอนิกของตัวเก็บประจุ
– สาเหตุและผลกระทบของฮาร์มอนิกส์
4. ยูพีเอส
เลือกยูพีเอสแต่ละชนิดตรึกตรองสักนิดเรื่องค่าไฟฟ้า
– การปรับปรุงประสิทธิภาพ การใช้พลังงานไฟฟ้าของ UPS
– ข้อควรรู้ในการเลือกซื้อ UPS
5. คาปาซิเตอร์, ตัวประกอบกำลัง
เมื่อคาปาซิเตอร์เพิ่มค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ไม่ได้
– การเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ไม่ควรเกิน 95 %
6. การต่อลงดิน, การป้องกันฟ้าผ่า
ภัยใกล้ตัว
– ระบบไฟฟ้าต่อลงดินดีหรือไม่
– การต่อลงดินดูเหมือนง่าย แต่ไม่ง่ายอย่างที่คิด
– เก็บตกเรื่องการต่อลงดิน ทำไมถึงเป็นปัญหา (1)
– เก็บตกเรื่องการต่อลงดิน ทำไมถึงเป็นปัญหา (2)
– การต่อลงดิน จุดอ่อนที่เกิดปัญหาอยู่เสมอ
– อุปกรณป้องกันแรงดันเสิร์จจากฟ้าผ่า
– การต่อลงดินสำหรับระบบโทรคมนาคม ความสับสนที่มีมาตลอด
– ระบบต่อลงดินแบบแยก และการต่อลงดินที่สภาพดินไม่ดี
– SPD อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ