วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม

9786160818686-33007รหัสหนังสือ: 33007 ชื่ อหนังสือ: วัสดุช่างอุตสาหกรรม
ISBN    : 9786160818686
ผู้แต่ง: บุญธรรม ภัทราจารุกุล
สำนักพิมพ์    : ซีเอ็ดยูเคชั่น
ขนาด    : 17.0 x 22.0 ซม.
จำนวน    : 336 หน้า
ราคา 160 บาท

หนังสือ วัสดุช่างอุตสาหกรรม มีเนื้อหาครอบคลุมหลักสูตรช่างอุตสาหกรรม ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อได้ศีกษาแล้วจะทำให้มีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติของวัสดุชนิดต่างๆ และคุณสมบัติในการใช้งานของวัสดุแต่ละชนิด สามารถที่จะออกแบบหรือเลือกใช้วัสดุได้อย่างถูกต้องหรือป้องกันการเสียหายท่อาจจะเกิดขึ้นกับชิ้นงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สารบัญ
บทที่ 1 แร่อุตสาหกรรม
– แร่ประกอบหิน
– แร่อุตสาหกรรม หรือแร่เศรษฐกิจ
แบบฝึกหัด

บทที่ 2 การถลุงโลหะเหล็ก
– การถลุงแร่เหล็กทางตรง
– การถลุงแร่เหล็กทางอ้อม
– เตาสูง (Blast Furnace)
– เตาคิวโพล่า (Cupola Furnace)
– เตาโอเพ่น-ฮาร์ท (Open-Hearth Furnace)
– เตาเบสเซเมอร์ (Bessemer Furnace)
– เตาออกซิเจนแบบด่าง (Basic-Oxygen Furnace)
– เตาไฟฟ้า (Electric Furnace)
แบบฝึกหัด

บทที่ 3 การถลุงโลหะที่ไม่ใช่เหล็ก
– อะลูมิเนียม
– แมกนีเซียม
– ทองแดง
– ตะกั่ว
– สังกะสี
– ไทเทเนียม
– แกรไฟต์
– โลหะพิเศษ
แบบฝึกหัด

บทที่ 4 โลหะเหล็ก
– เหล็กเหนียว
– เหล็กกล้า
– ผลทางเคมีของธาตุชนิดต่างๆ ในเหล็กกล้า
– เหล็กกล้าผสมชนิดต่างๆ
– เหล็กหล่อ
– อิทธิพลทางเคมีของธาตุชนิดต่างๆ ในเหล็กหล่อ
แบบฝึกหัด

บทที่ 5 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก และโลหกรรมผง
– ทองแดงผสม
– อะลูมิเนียมผสม
– แมกนีเซียมผสม
– สังกะสีผสม
– นิกเกิลผสม
– ตะกั่วผสม
– ดีบุกผสม
– ไทเทเนียมผสม
– โลหะจำรูป
– โลหกรรมผง
แบบฝึกหัด

บทที่ 6 สมบัติของวัสดดุ
– วัสดุที่เป็นโลหะและอโลหะ
– สมบัติทางฟิสิกส์และทางกล
– การทดสอบวัสดุ
แบบฝึกหัด
บทที่ 7 มาตรฐานอุตสาหกรรม
– สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งสหรัฐอเมริกา (AISI) และ สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (SAE)
– มาตรฐานอุตสาหกรรมของเยอรมัน
– มาตรฐานอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น
แบบฝึกหัด
บทที่ 8 การกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อน
– ธรรมชาติของการกัดกร่อน
– ปฎิกิริยาไฟฟ้าเคมี
– การกัดกร่อนเนื่องจากความต่างศักย์
– อิเล็กโทรไลต์
– ปัจจัยที่ทำให้เกิดการกัดกร่อน
– ชนิดของการกัดกร่อน
– การป้องกันการกัดกร่อน
แบบฝึกหัด

บทที่ 9 เชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น
– แหล่งกำเนิดของปิโตรเลี่ยม
– การสำรวจปิโตรเลียม
– การสำรวจธรณีฟิสิกส์
– การสำรวจธรณีฟิสิกส์ในขั้นการผลิตปิโตรเลียม
– กระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ
– แหล่งก๊าซธรรมชาติ
– สารหล่อลื่น (Lubricant)
– น้ำมันหล่อเย็น
แบบฝึกหัด
บทที่ 10 พลาสติก
– เทอร์โมพลาสติก
บทที่ 11 พลังงานไฟฟ้าและวัสดุไฟฟ้า
บทที่ 12 วัสดุก่อสร้าง
บทที่ 13 วัสดุทั่วไป