การควบคุมคุณภาพ สำหรับนักบริหาร และกรณีศึกษา

9746860186-11203-BMรหัสหนังสือ: 11203 ชื่อหนังสือ: เทคนิคการวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือน เพื่องานบำรุงรักษา
ISBN: 9746860186
ผู้แต่ง: ผศ.ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 389
ราคา 320 บาท

การควบคุมคุณภาพ สำหรับนักบริหาร และกรณีศึกษา เป็นหนังสือที่อธิบายการบริหารในมุมกว้าง เนื้อหาแบ่งออกเป็นส่วนๆ เริ่มด้วย การวางแผนเบื้องต้น ในการจัดองค์กรให้มีประสิทธิภาพ, วิธีการตรวจสอบคุณภาพ, เครื่องมือที่ใช้วัดคุณภาพเชิงเศรษฐศาสตร์, ปัจจัยภายนอก ที่มีผลกระทบต่อการควบคุมคุณภาพ, ความสัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งจะเป็นข้อมูลสำหรับกำหนดระดับคุณภาพที่ต้องการผลิต, ความสัมพันธ์กับผู้ขาย ซึ่งเป็นแนวหน้าที่จะเชื่อมโยงกับลูกค้า, การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในระหว่างการใช้งานของลูกค้า ซึ่งเป็นการสำรวจความเห็นจากลูกค้า แล้วนำมาปรับปรุง

การบริหารงานภายใน ที่เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพ เช่น วิธีจูงใจในการควบคุมคุณภาพ ซึ่งได้แนะแนวทางต่างๆ ในการวิเคราะห์ และปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น, ความเชื่อมั่น และความสามารถในการบำรุงรักษา ซึ่งเป็นวิวัฒนาการของผู้ผลิต ที่จะสร้างความพอใจให้กับลูกค้ามากขึ้น, นโยบาย และเป้าหมายด้านคุณภาพ ซึ่งได้แนะนำวิธีการตั้งเป้าหมาย เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ตระหนักอยู่ตลอดเวลา พร้อมทั้งพัฒนาให้ดีขึ้น, คำแนะนำเรื่องกลุ่มควบคุมคุณภาพ ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเป็นวิธีที่ดีสำหรับการพัฒนาคุณภาพ

สุดท้ายเป็นเรื่องของ การพัฒนาด้านคุณภาพ การสร้างความพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งกล่าวถึงการประกันคุณภาพ, คุณภาพของผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยแนะแนวทางในการจัดการ เมื่อมีสินค้าใหม่เกิดขึ้น, การออกแบบคุณภาพที่เหมาะสม, มาตรฐานระดับคุณภาพ, การควบคุมคุณภาพเชิงรวม ซึ่งเป็นการควบคุมคุณภาพทั้งระบบ

นอกจากนี้ ยังมีกรณีศึกษา ที่ถือว่าประสพผลสำเร็จมาแล้ว ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านเห็นภาพของ การควบคุมคุณภาพได้ดีขึ้น

สารบัญ

บทที่ 1 การจัดองค์กรสำหรับคุณภาพ
1.1 ธรรมชาติของการจัดการ
1.2 ความรับผิดชอบของผู้บริหารชั้นสูง สำหรับการจัดการองค์การ
1.3 วิวัฒนาการของการจัดองค์การเพื่อคุณภาพ
1.4 รูปแบบการจัดองค์การในขบวนการอุตสาหกรรม
1.5 รูปแบบการจัดองค์การในบริษัทใหญ่ๆ
1.6 การจุดองค์การเพื่อการยอมรับ
1.7 ความรับผิดชอบของหัวหน้าหน่วนตรวจสอบ
1.8 การจัดองค์การเพื่อการป้องกัน
1.9 การจัดองค์การเพิ่อความสำคัญเท่าเทียมกัน
1.10 การร่วมงานโดยรวมงานต่อผู้บังคับบัญชาคนเดียวกัน
1.11 การประสานงานในตัวเอง
1.12 การประสานงานแบบเขียนวิธีดำเนินการ
1.13 การประสานงานร่วมแบบคณะผู้ชำนาญพิเศษ
1.14 การประสานงานแบบคณะแผนก
1.15 การประสานงานแบบคณะกรรมการร่วม
1.16 ความรับผิดชอบของผู้จัดการคุณภาพ
บทที่ 2 การตรวจสอบและวัดคุณภาพ
2.1 การตรวจสอบนำเข้า
2.2 การตรวจสอบระหว่างผลิต
2.3 การวางแผนการตรวจสอบ
2.4 การวัด
2.5 ความผิดพลาดในการวัด
2.6 การควบคุมรักษาเครื่องมือวัด
2.7 ความผิดพลาดจากการวัด
2.8 เทคนิคในการวัด
2.9 คุณภาพในการผลิต
2.10 การออกแบบขบวนการผลิต
บทที่ 3 คุณภาพเชิงเศรษฐศาสตร์
3.1 คุณภาพและแผนงานธุรกิจขั้นต้น
3.2 จุดสมดุลระหว่างค่าใช้จ่ายด้านคุณภาพ และคุณค่าของคุณภาพ
3.3 เศรษฐศาสตร์ของคุณภาพในการออกแบบ
3.4 การแข่งขันกันด้านคุณภาพ
3.5 การออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อจุดมุ่งหมายในการแข่งขัน ด้านคุณภาพ
3.6 การศึกษาเรื่องคุณภาพที่ตลาดต้องการ เพื่อการแข่งขัน ด้านคุณภาพ
3.7 ค่าใช้จ่ายด้านคุณภาพ
3.8 เศรษฐศาสตร์ของคุณภาพ ในการทำให้ได้ตามเกณฑ์ ที่กำหนด
3.9 ระดับคุณภาพที่เหมาะสมในแง่ของผู้บริโภค
บทที่ 4 ความสัมพันธ์กับลูกค้า
4.1 ลูกค้า ผู้ใช้ และผู้บริโภค
4.2 แง่มุมจากลูกค้า
4.3 ผลิตภัณฑ์และบริการ
4.4 ความพยายามประนีประนอมในแง่มุมที่แตกต่างกัน
4.5 แหล่งข้อมูลของตลาดคุณภาพ
4.6 การวิจัยตลาดเพื่อคุณภาพ
4.7 กรณีสินค้าบริโภค กรณีศึกษาคือ ระบบการโกนหนวด
4.8 กรณีศึกษา บริษัทอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลหนัก
4.9 ค้นหาโอกาส
4.10 เครื่องมือการวิจัยตลาด
4.11 ค่าใช้จ่ายของผู้ใช้เหมาะสมที่สุด
4.12 แยกแยะค่าใช้จ่ายของผู้ใช้
4.13 การเรียกเก็บเงินจากการประกัน
4.14 การเรียกเก็บเงินจากการออกแบบประกัน
4.15 ค่าใช้จ่ายของผู้ใช้ในการประกัน
4.16 รูปแบบของการแยกแยะ
4.17 สัญญาขึ้นอยู่กับจำนวนของการใช้
4.18 ค่าใช้จ่ายวงจรชีวิต
4.19 ตลาดของคุณภาพ
4.20 กฎของแผนกควบคุมคุณภาพ
4.21 การใช้สถิติในเรื่องความสัมพันธ์กับลูกค้า
4.22 ดัชนีการบ่นต่อว่า
4.23 ข้อมูลที่ได้รับจากลูกค้าเกี่ยวกับคุณภาพ
4.24 กระบวนการและการแก้ปัญหาการบ่นต่อว่าของลูกค้า
4.25 เทคนิคของการวิเคราะห์ข้อมูลจากการใช้งานจริง
4.26 การวัดและการทำนายประสิทธิภาพจริงๆ
4.27 การใช้กระดาษความน่าจะเป็นเพื่อทำนายระดับ การบ่นต่อว่า
4.28 การออกแบบการทดสอบเทียบกับคู่แข่งขัน
บทที่ 5 ความสัมพันธ์กับผู้ขาย
5.1 บทนำ
5.2 นโยบายคุณภาพเกี่ยวกับผู้ขาย
5.3 การประเมินความสามารถทางคุณภาพเกี่ยวกับผู้ขาย
5.4 การสำรวจคุณภาพเกี่ยวกับผู้ขาย
5.5 แหล่งข้อมูลสำหรับการประเมินผู้ขาย
5.6 การระบุความต้องการเกี่ยวกับคุณภาพสำหรับผู้ขาย
5.7 การวางแผนเกี่ยวกับคุณภาพร่วมกัน

– การวางแผนร่วมกันทางเศรษฐศาสตร์
– การวางแผนร่วมกันทางเทคโนโลยี
– การใช้ข้อมูลคุณภาพของผู้ขาย
5.8 ความร่วมมือกับผู้ขายระหว่างสัญญา
5.9 การประเมินผลิตภัณฑ์ให้ผ่านไป

– ความไว้วางใจผู้ขายเพียงอย่างเดียว
– การตรวจสอบแรกเข้า
– การควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด
– การใช้ข้อมูลคุณภาพของผู้ขาย
5.10 การประเมินผลิตภัณฑ์ของผู้ขายในการตรวจสอบแรกเข้า
5.11 การประเมินค่าคุณภาพของผู้ขาย
5.12 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย
บทที่ 6 การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในระหว่างการใช้งานของลูกค้า
6.1 ขอบเขตปัญหาคุณภาพ
6.2 การส่ง การรับ และการบรรจุเก็บ
6.3 การติดตั้ง
6.4 สภาพการใช้งานและการบำรุงรักษา
6.5 การควบคุมแผนการทั่วไป
6.6 ข้อมูลสะท้อนกลับจากลูกค้า
6.7 การวิเคราะห์การต่อว่าจากลูกค้า
6.8 การวัดคุณภาพของการทำงานจริง
6.9 การประเมินระดับของคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ที่อออกสู่ตลาด
6.10 การสำรวจคุณภาพ
6.11 ผลที่ได้จากการสำรวจ
6.12 การรายงานเกี่ยวกับคุณภาพ
6.13 สรุปผล
บทที่ 7 วิธีจูงในการควบคุมคุณภาพ
7.1 พฤติธรรมของฝ่ายการจัดการต่อคุณภาพ
7.2 ทัศนคติของฝ่ายจัดการต่อคุณภาพ
7.3 ทัศนคติของฝ่ายคนงาน
7.4 ความผิดพลาดที่สืบเนื่องมากจากคนงาน
7.5 ความผิดพลาดที่เกิดจากการขาดความชำนาญ
7.6 ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นด้วยความจงใจ
7.7 ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว
7.8 การณรงค์เพื่อการจูงใจที่ดีขึ้น
7.9 โครงการของเสียเป็นศูนย์
7.10 ทฤษฎีการจูงใจ
7.11 ทฤษฎีของ แมค โดกัล
7.12 ทฤษฎีการจูงใจของ 3 นักจิตวิทยา
7.13 การสร้างกิจกรรมเพื่อการจูงใจ
7.14 ระบบการจูงใจแบบ ซาราทอฟ
7.15 ระบบ ดูโร
7.16 การออกแบบงานและการวางแผน
7.17 การติดต่อสื่อสาร
7.18 การสนับสนุนให้มีส่วนร่วม
7.19 การเพิ่มงานและความรับผิดชอบ
บทที่ 8 การปรับปรุงคุณภาพ
8.1 ขั้นตอนในการพัฒนาเพื่อการปรับปรุงคุณภาพ
8.2 เครื่องหมายแห่งคุณภาพ ปัญหา โครงการ สาเหตุ และการแก้ไข
8.3 ลักษณะทั่วๆ ไปของการบริหารในปัญหาที่ควบคุมได้
8.4 การวินิจฉัยสำหรับคุณลักษณะที่จำแนกได้

– ลักษณะของปัญหาที่เป็นตัวแปร
– ลักษณะปัญหาที่เป็นแบบคุณภาพ
8.5 การวินิจฉัยสำหรับคุณลักษณะที่จำแนกไม่ได้
8.6 การทดลองที่เป็นลักษณเฉพาะแต่ละวิธีการ
– การทดลองเพื่อเน้นหาตัวแปรสำคัญ

– การทดลองโดยอาศัยการสำรวจ
– การวิเคราะห์โดยใช้แผนภาพและการทดลอง
– การปฏิบัติงานที่ได้รับการพัฒนาขึ้น
8.7 การวิเคราะห์งานที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
8.8 การวัดค่าเพื่อการวินิจฉัย
บทที่ 9 ความเชื่อมั่นและความสามารถบำรุงรักษา
9.1 ความเชื่อมั่น
9.2 ขั้นตอนการปฏิบัติในการกำหนดค่าความเชื่อมั่น
9.3 ชนิดของความเชื่อมั่น
9.4 ความสำคัญของความเชื่อมั่น
9.5 ขอบเขตของความเชื่อมั่น
9.6 กิจกรรมของความเชื่อมั่น
9.7 ค่าของความเชื่อมั่น
9.8 การหาค่าความเชื่อมั่น
9.9 การออกแบบค่าความเชื่อมั่น
9.10 การทดสอบความเชื่อมั่น
9.11 สิ่งที่ต้องพิจารณา และคำนึงถึงในการวางแผน การทดสอบความเชื่อมั่น
9.12 การหาข้อมูลเพื่อการทดสอบ
9.13 ความเชื่อมั่นหลังการส่งมอบ
9.14 ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่น
9.15 การวางแผนความเชื่อมั่น
9.16 การจัดองค์การของการควบคุมความเชื่อมมั่น
9.17 การบำรุงรักษา
9.18 ความสามารถบำรุงรักษา
9.19 การวิเคราะห์และการทำนายค่าความสามารถบำรุงรักษา
9.20 การหาค่าความสามารถบำรุงรักษา
บทที่ 10 นโยบายและเป้าหมายด้านคุณภาพ
10.1 เนื้อหาและลำดับของการบริหาร
10.2 การก่อตั้งนโยบายคุณภาพ
10.3 ความต้องการสำหรับนโยบายด้านคุณภาพ
10.4 เนื้อหาสาระของนโยบายด้านคุณภาพ
10.5 ตัวอย่างของนโยบายด้านคุณภาพ
10.6 กฎเกณฑ์ของนโยบายด้านคุณภาพ
10.7 เป้าหมายด้านคุณภาพ
10.8 กฎเกณฑ์ของเป้าหมายด้านคุณภาพ
10.9 โปรแกรมด้านคุณภาพประจำปี
10.10 เป้าหมายคุณภาพเชิงอุตสาหกรรม
10.11 ความสามัคคีกันอย่างหนาแน่นในเรื่อง วัตถุประสงค์คุณภาพ
10.12 การวางแผนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ
10.13 กิจกรรมคุณภาพที่เกี่ยวกับทางบริหารและทางเทคนิค
บทที่ 11 กลุ่มควบคุมคุณภาพ
11.1 กลุ่มคุณภาพ (QC circle) คืออะไร
11.2 องค์กรส่งเสริมและเผยแพร่กิจกรรม กลุ่มคุณภาพ (QC circle) และประวัติความเป็นมา
11.3 โครงสร้างองค์กรพื้นฐานของ QC circle
11.4 หัวข้อที่ต้องพิจารณาในการพัฒนา ผู้นำกลุ่มคุณภาพ
11.5 การให้การศึกษาและฝึกอบรม
11.6 เทคนิคการระดมความคิดให้ดำรงอยู่ตลอดไป
11.7 การระดมสมอง
11.8 การแสดงความคิดเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
11.9 การนำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพเข้ามาใช้กับงาน
11.10 วิธีค้นหาปัญหาและวิธีแก้ไข
11.11 การใช้หลักการของ QC circle ทำให้เราประสบผลดี 10 ประการคือ
บทที่ 12 การประกันคุณภาพ
12.1 การวิเคราะห์ถึงคำร้องเรียนจากลูกค้า
12.2 การประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในการใช้งานจริง
12.3 การกำหนดระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป

– จุดมุ่งหมายของการกำหนดระดับคุณภาพ
– การเก็บรวบรวมข้อมูล
– การให้คำจำกัดความของคำว่าข้อบกพร่อง
– หน่วยที่ใช้ในการกำหนดระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
– มาตรฐานสำหรับการเปรียบเทียบ
– ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสำเร็จรูป ของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปของบริษัท กับข้อมูลในความเป็นจริง ของผู้ใช้
12.4 การสำรวจหรือตรวจสอบคุณภาพ

– การสำรวจระบบคุณภาพโดยรวม
– การตรวจสอบกิจกรรมเฉพาะอย่าง
12.5 การเสนอรายงานคุณภาพแก่ฝ่ายบริหาร

– สิ่งที่จะต้องควบคุมในการเสนอรายงานคุณภาพ แก่ผู้บริหาร
– การรักษาความเป็นจริง
– การกำหนดมาตรฐานการทำงาน
– การสรุปผลรายงาน
บทที่ 13 คุณภาพของผลิตภัณฑ์ใหม่
13.1 บทนำ
13.2 วิธีการจัดการสำหรับดำเนินผลิตภัณฑ์ใหม่
13.3 ความเชื่อมั่นในการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
13.4 โปรแกรมความเชื่อมั่น
13.5 การจัดการคุณภาพของผลิตภัณฑ์ใหม่
บทที่ 14 การออกแบบคุณภาพที่เหมาะสม
14.1 คุณภาพของการออกแบบและคุณภาพที่ได้จากปฏิบัติ
14.2 การวางแผนผลิตภัณฑ์

– การวิจัยตลาด
– การศึกษาวิจัย
– การวางแผนผลิตภัณฑ์
14.3 การออกแบบ

– การออกแบบด้านพื้นฐานความคิด
– การออกแบบหน้าที่การใช้งาน
– การออกแบบความเชื่อมั่น
– ต้นทุนการออกแบบ
14.4 การประเมินผลการออกแบบ

– การพิจารณาการออกแบบ
– เครื่องต้นแบบ
14.5 การบริหารการพัฒนาการ

– การจัดเข้ามาตรฐาน
– ตารางการควบคุม
– การควบคุมการเปลี่ยนแปลง
– การพัฒนาความสามารถทางด้านเทคนิค
– การปรับปรุงขบวนการพัฒนา
14.6 บทสรุป
บทที่ 15 การยอมรับในสินค้าสำเร็จรูป
15.1 บทนำ
15.2 งานหน้าที่ของการยอมรับสมัยใหม่
15.3 การแปลความหมายของรายละเอียด
15.4 การแยกประเภทของของเสียตามลำดับความสำคัญ
15.5 การยอมรับของระบบ
15.6 การตัดสินใจของความเที่ยงตรง
15.7 การยอมรับโดยฝ่ายผลิตภัณฑ์
15.8 การควบคุมผลิตภัณฑ์ซึ่งไม่ได้คุณภาพ และบอร์ดการพิจารณาวัตถุ
15.9 การคิดราคาสำหรับการปฏิเสธ
15.10 ผลย้อนกลับมาของข้อมูลการตรวจสอบ
15.11 การยอมรับแผนการสุ่มตัวอย่าง สำหรับอายุใช้งาน และลักษณะอื่นเกี่ยวข้องกับเวลา
15.12 การใช้ประโยชน์ของคุณสมบัติ ของค่ามารตรฐาน และแผนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเวลา
15.13 ตัวอย่างของแผนการสุ่มตัวอย่างที่เชื่อมั่นได้
15.14 การสุ่มตัวอย่างสำหรับผลิตภัณฑ์จำนวนมาก
บทที่ 16 การควบคุมคุณภาพเชิงรวม TQC
16.1 บทนำ
16.2 ความหมายของคุณภาพ
16.3 การควบคุมคุณภาพในประเทศต่างๆ
16.4 ความหายของการควบคุมคุณภาพเชิงรวม (TQC)
16.5 วิธีการในการส่งเสริม TQC ให้เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และแพร่ไปในกิจการใดๆ
16.6 มโนทัศน์ 4 ประการในการส่งเสริม TQC
16.7 การสร้างผลกำไรจากคุณภาพ
16.8 มโนมัศน์ของค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับคุณภาพ
16.9 บทบาทของผู้บริหารระดับสูงในการส่งเสริมคุณภาพ
16.10 ตัวอย่างการส่งเสริม (TQC) ในบริษัท ไอโฟน (Aiphone)
16.11 การอยู่รอดของกิจการโดย TQC และ QCC
16.12 ความสัมพันธ์ระหว่าง TQC และ QCC
16.13 วงจรชีวิตของคุณภาพผลิตภัณฑ์
16.14 ทางรอด QCC ในหน่วยงาน และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และบริการ
กรณีศึกษา
1. บริษัท อลูนาวิศวกรรม จำกัด
2. บริษัท แกนนาปาตี้ ฟาร์มายูนิคอล จำกัด
3. บริษัท โคซี่ สปลิน ชาฟท์ จำกัด
4. บริษัท วสันต์ เอเยนซี่ จำกัด
5. บริษัท พัดม่า วิลเลอร์ จำกัด
6. บริษัท โกปอลอิเลคโทรนิค จำกัด
7. โรงงาน ซูบาช เทกซ์ไทล์
8. บริษัท อินทิรา เอนยินส์ จำกัด
9. บริษัท ซุปเปอร์ไฟ ซิงอิ้ง แมชชัน จำกัด
บรรณานุกรม