ระบบควบคุมสำหรับ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ

9746860372-10401-BMรหัสหนังสือ: 10401   ชื่อหนังสือ: ระบบควบคุมสำหรับ การทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ
ISBN 9746860372
ผู้แต่ง R.W. Haines, D.C. Hittle
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
พิมพ์ครั้งที่ : 1/2540
จำนวนหน้า 324
ราคาปก 500 บาท

 ปัจจุบันการออกแบบอาคารต่างๆ สถาปนิกต้องคำนึงถึงระบบที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น ระบบการทำความร้อน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ อันเป็นระบบที่ให้ความรู้สึกสบาย ด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม อีกทั้งยังง่ายต่อ การออกแบบใช้งาน และการบำรุงรักษา โดยระบบต่างๆ เหล่านี้ ต้องกระทำควบคู่กันไป แบบแยกไม่ออก

หนังสือเล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนา ความรู้ ความเข้าใจในระบบต่างๆ อย่างเหมาะสม โดยมีเนื้อหาที่กล่าวถึงระบบ HVAC (Heating Ventilating and Air Conditioning) ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งวิธีการควบคุม ที่เรียกว่า ดำเนิน “ร่วมกันไป” ได้เป็นอย่างดี

ภายในเล่มบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับ ระบบควบคุมสมบูรณ์แบบ โดยแบ่งเป็นบทหลักๆ ได้ถึง 14 บท เริ่มจากการควบคุม และศัพท์บัญญัติต่างๆ ตลอดจนสัญลักษณ์ และอักษรย่อ ที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบดังกล่าว, อุปกรณ์ควบคุมด้วยนิวแมติก, อุปกรณ์ควบคุมด้วยไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์, อุปกรณ์ควบคุมด้วยของไหล และการควบคุมการไหล, ระบบควบคุมมูลฐาน ที่ใช้งานเกี่ยวกับระบบควบคุมที่สมบูรณ์

ระบบควบคุมด้วยไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย แผนผังการควบคุมด้วยไฟฟ้า ในทุกระบบ, ตัวควบคุมด้วยความเร็วแปรเปลี่ยน, สตาร์ตเตอร์ชนิดต่างๆ, การควบคุมแบบพิเศษ, ระบบควบคุมดิจิตอล และอำนวยการ, ไมโครเมตริกส์, ระบบการปั้ม และการแจกจ่ายแบบโรงส่วนกลาง, การปรับปรุงระบบควบคุมที่ใช้งานอยู่ และการตอบสนองเชิงพลวัต และการปรับแต่ง

และที่สำคัญก็คือ หนังสือเล่มนี้ ได้รับลิขสิทธิ์การแปล จากหนังสือชื่อ Control Systems of Heating, Ventilating and Air Conditioning ของ R.W. Haines and D.C. Hittle ซึ่งเราแปลขายในราคาที่ถูกกว่าต้นฉบับ แบบหาที่อื่นไม่ได้แล้ว

สารบัญ
บทที่ 1 ทฤษฎีการควบคุม และศัพท์บัญญัติ
1.1 กล่าวนำ
1.2 การควบคุมคืออะไร
1.3 ระบบควบคุมพื้นฐาน
1.4 จุดประสงค์ของการควบคุม
1.5 การทำการควบคุม
1.6 แหล่งพลังงานสำหรับระบบควบคุม
1.7 การวัด
1.8 สัญลักษณ์และอักษรย่อ
1.9 แผนภูมิไซโครเมตริก
1.10 ความสัมพันธ์ของระบบ
1.11 สรุป

บทที่ 2 อุปกรณ์ควบคุมด้วยนิวแมติก
2.1 กล่าวนำ
2.2 อุปกรณ์ควบคุมด้วยนิวแมติก
2.3 ตู้ควบคุม
2.4 การจ่ายอากาศ
บทที่ 3 อุปกรณ์ควบคุมด้วยไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
3.1 อุปกรณ์ควบคุมด้วยไฟฟ้า
3.2 อุปกรณ์ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 อุปกรณ์ควบคุมด้วยของไหล
4.1 กล่าวนำ
4.2 อุปกรณ์ติดกับผนัง
4.3 ตัวขยายเชิงเทอร์บูเลนซ์
4.4 ตัวขยายเชิงวอร์เท็คซ์
4.5 ตัวขยายเจ็ตตามแนวรัศมี
4.6 ทรานซ์ดิวเซอร์ด้วยของไหล
4.7 สวิตซ์มือหมุน
บทที่ 5 อุปกรณ์ควบคุมการไหล
5.1 แดมเปอร์
5.2 วาล์วควบคุมการไหลของไอน้ำและน้ำ
บทที่ 6 ระบบควบคุมมูลฐาน
6.1 กล่าวนำ
6.2 การควบคุมอากาศภายนอก
6.3 การแบ่งชั้นอากาศ
6.4 การทำน้ำร้อน
6.5 ขดท่อทำความเย็น
6.6 การควบคุมความชื้น
6.7 เครื่องลดความชื้น
6.8 การควบคุมความดันสถิตย์
6.9 การทำความร้อนด้วยไฟฟ้า
6.10 เครื่องทำความร้อนชนิดใช้ก๊าซ
6.11 เครื่องทำความร้อนชนิดใช้น้ำมัน
6.12 อุปกรณ์ทำความเย็น
6.13 การควบคุมไฟไหม้และควัน
6.14 การล็อกเข้าด้วยกันด้วยไฟฟ้า
6.15 การวางตำแหน่งของตัวตรวจรู้
6.16 สรุป
บทที่ 7 ระบบควบคุมที่สมบูรณ์
7.1 กล่าวนำ
7.2 ระบบโซนเดี่ยว
7.3 ระบบปรับและเป่าลมแบบหลายโซน
7.4 ระบบท่อลมคู่
7.5 ระบบปริมาตรแปรเปลี่ยน
7.6 ระบบให้ความร้อนซ้ำ
7.7 การเอาความร้อนกลับมาใช้ใหม่
7.8 ชุดขดท่อและพัดลม
7.9 ระบบเหนี่ยวนำ
7.10 เครื่องระบายอากาศแบบยูนิต
7.11 อุปกรณ์แบบชุด
7.12 อุปกรณ์แบบชุดอื่นๆ
7.13 การทำความร้อนและความเย็นแบบแผ่รังสี
7.14 เครื่องแผ่รังสีและเครื่องพาความร้อน
7.15 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
7.16 ระบบการทำความร้อนและความเย็นด้วยแสงอาทิตย์
7.17 สรุป
บทที่ 8 ระบบควบคุมด้วยไฟฟ้า
8.1 กล่าวนำ
8.2 แผนผังการควบคุมด้วยไฟฟ้า
8.3 การควบคุมเครื่องทำน้ำเย็นด้วยไฟฟ้า
8.4 การควบคุมเครื่องปรับและเป่าลมด้วยไฟฟ้
8.5 ตัวอย่าง : ระบบการปรับอากาศขนาดเล็กโดยทั่วไป
8.6 เครื่องทำความร้อนด้วยไฟฟ้า
8.7 สตาร์ตเตอร์ชนิดความต่างศักย์ลด
8.8 สตาร์ตเตอร์ชนิดหลายความเร็ว
8.9 ตัวควบคุมความเร็วแปรเปลี่ยน
8.10 สรุป
บทที่ 9 การควบคุมแบบพิเศษ
9.1 กล่าวนำ
9.2 การควบคุมอุณหภูมิ และ/หรือความชื้นแบบปิด
9.3 ห้องที่ควบคุมสภาพแวดล้อมสำหรับการทดสอบ
9.4 สรุป
บทที่ 10 ระบบควบคุมแบบดิจิตอลและอำนวยการ
10.1 กล่าวนำ
10.2 ระบบส่งตามสาย
10.3 ระบบมัลติเพล็กซ์
10.4 ระบบใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานสำหรับการแสดงผล และควบคุม
10.5 ข้อดีของระบบคอมพิวเตอร์
10.6 การฝึกอบรมสำหรับการบำรุงรักษา และการทำงาน
10.7 สรุป
บทที่ 11 ไซโครเมตริก
11.1 กล่าวนำ
11.2 คุณสมบัติทางไซโครเมตริก
11.3 ตารางไซโครเมตริก
11.4 แผนภูมิไซโครเมตริก
11.5 กระบวนการบนแผนภูมิไซโครเมตริก
11.6 วัฏจักร HVAC บนแผนภูมิ
11.7 กระบวนการที่เป็นไปไม่ได้
11.8 ผลกระทบของระยะสูง
11.9 สรุป
บทที่ 12 ระบบการปั๊มและการแจกจ่ายแบบโรงส่วนกลาง
12.1 กล่าวนำ
12.2 สภาพการเบี่ยงเบน
12.3 ระบบการไหลแบบคงที่
12.4 ระบบการไหลแบบแปรเปลี่ยน
12.5 ระบบการแจกจ่าย
12.6 การเชื่อมต่อกันของอาคาร
12.7 สรุป
บทที่ 13 การปรับปรุงระบบควบคุมที่ใช้งานอยู่
13.1 กล่าวนำ
13.2 การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์
13.3 ดิสคริมิเนเตอร์หรืออุปกรณ์แยกสัญญาณ
13.4 รูปแบบการควบคุม
13.5 การควบคุมวัฏจักรแบบประหยัด
13.6 ระบบโซนเดียว
13.7 ระบบให้ความร้อนซ้ำ
13.8 ระบบหลายโซน
13.9 ระบบท่อลมคู่
13.10 ระบบที่มีการควบคุมความชื้น
13.11 การจัดลำดับวาล์วควบคุมและการปั๊ม
13.12 สรุป
บทที่ 14 การตอบสนองเชิงพลวัตและการปรับแต่ง
14.1 กล่าวนำ
14.2 การตอบสนองเชิงพลวัต
14.3 การปรับแต่งวงรอบการควบคุม HVAC
14.4 สรุป
บรรณานุกรม
อักษรย่อที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้
สัญลักษณ์ที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้
ดัชนี